Page 27 -
P. 27
ั
ิ
ื
ิ
ิ
ุ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
กนกพร นุ่มทอง
ั
สรุปเนื้อหาคร่าวๆ โดยไม่ต้องจด เป็นต้นว่า ฟงสื่อภาษาจีนตอนหนึ่ง
แล้วใช้ภาษาจีนกับภาษาอังกฤษสรุปตามล าดับ
4. การฝึกแปลงข้อมูลเป็นภาพ คือการฝึกใช้จินตนาการ
สร้างภาพข้อมูลขึ้นในสมอง
5. การฝึกจัดการตามหลักตรรกะ คือฝึกความสามารถใน
การวิเคราะห์ตามหลักตรรกะ ก่อนอื่น ในการอ่านข้อความ
ภาษาอังกฤษหรือภาษาจีนให้พยายามฝึกวิเคราะห์ตามหลักตรรกะ
ั
ั
เป็นต้นว่าหาความสัมพนธ์ระหว่างข้อมูล ล าดับถัดมา ในการฟง
ข้อความภาษาอังกฤษหรือภาษาจีนให้ฝึกหัดอย่างเดียวกัน อีกทั้งไม่
ต้องยึดติดกับล าดับก่อนหลังของข้อมูลในข้อความเดิม แต่ให้เล่าซ้ า
หรือสรุปข้อความเดิมขึ้นใหม่ตามหลักตรรกะ” (孙亚, 2000:
10-11)
ผู้เขียนได้น าวิธีการดังกล่าวมาประยุกต์ใช้กับการสอนล่าม
จีน-ไทยมาแล้วหลายรุ่นและพบว่าได้ผลดี ต่อไปนี้เป็นแบบฝึกปฏิบัติ
ที่ผู้เขียนแต่งขึ้นเองเพอให้ผู้อ่านฝึกฝนตามวิธีการดังกล่าว ทั้งนี้
ื่
ี
จากการทดลองกับผู้เรียนในห้อง พบว่า ในกรณที่ผู้ฝึกฝนมีทักษะ
ภาษาจีนดีและมีปฏิกิริยาตอบสนองไวมาก ในขั้นตอนการฝึกเล่าซ้ า
และฝึกสรุปเป็นภาษาต้นทางจากภาษาจีนเป็นภาษาไทย จะข้ามและ
พูดแปลเป็นภาษาไทยโดยอัตโนมัติ ถ้าเป็นเช่นนี้ก็ไม่ต้องฝืนให้เล่าซ้ า
หรือสรุป เพราะปลายทางของการฝึกฝนคือการแปลเป็นภาษา
ปลายทาง ให้ถือเป็นการย่นระยะเวลาในการฝึกฝน
18 บทที่ 1 การฝึกฝนความจ าเพื่อการล่าม