Page 17 -
P. 17
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
กนกพร นุ่มทอง
อนึ่ง การแปลจากภาษาแม่เป็นภาษาต่างประเทศอาจดู
เหมือนยากในเรื่องของการเรียบเรียงถ้อยค า แต่การแปลจาก
ภาษาต่างประเทศเป็นภาษาแม่ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย อาจไม่ยากในการ
ั
เรียบเรียงถ้อยค าที่จะพดออกมา แต่ปัญหาจะอยู่ที่จะฟงอย่างไรให้
ู
เข้าใจ ปัญหาที่มักเกิดขึ้นกับล่ามชาวไทยคือแม้จะรู้ศัพท์รู้ส านวน
ื้
ั
ู
แต่ฟงส าเนียงภาษาจีนของผู้พดไม่ออก จีนมีพนที่กว้างใหญ่
ู
มีประชากรมาก ส าเนียงภาษาแตกต่างหลากหลาย แม้จะพด
ภาษาจีนกลางเหมือนกัน แต่คนจ านวนมากติดส าเนียงภาษาจีนถิ่น
ั
แม้เป็นคนจีนด้วยกันเองก็ใช่ว่าจะฟงออกหมด สังเกตจากรายการ
โทรทัศน์จีนต้องมีซับไตเติ้ลเป็นตัวอักษรจีนไว้ให้เสมอ ฉะนั้น
ล่ามจ าเป็นต้องฝึกฟงส าเนียงภาษาจีนที่หลากหลาย อาจฝึกฟงแล้ว
ั
ั
แกะภาษาจีนจากสื่อที่ติดส าเนียงภาษาจีนถิ่นบ้าง
ู
ในเรื่องการพดเป็นภาษาจีน ล่ามชาวไทยอาจไม่จ าเป็นต้อง
พูดได้ส าเนียง “เป๊ะ” เหมือนผู้ประกาศข่าว CCTV แต่อย่างน้อยต้อง
ี้
ออกเสียงภาษาจีนถูกต้อง วรรณยุกต์ไม่เพยน เพราะจะท าให้
ความหมายเปลี่ยน นอกจากนี้ต้องควบคุมเสียงพดทั้งภาษาไทยและ
ู
ภาษาจีนให้มีจังหวะจะโคนดี ไม่ช้าเกินไม่เร็วเกิน ไม่ดังและไม่เบาเกินไป
2. ใฝ่ศึกษำควำมรู้เฉพำะทำง
ผู้เป็นล่ามจะต้องใฝ่ศึกษาความรู้ นอกจากความรู้ในวิชาการ
ล่าม ยังต้องพฒนาตนให้มีความรู้เฉพาะทางในด้านที่แปล ความรู้
ั
ในวิชาการล่ามครอบคลุมไปถึงวิธีการจดบันทึกย่ออย่างรวดเร็วเพอ
ื่
ช่วยมิให้แปลตกหล่นในข้อความที่ส าคัญ รู้จักคาดเดาเนื้อหาที่ต้องแปล
8 บทน า ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการล่าม