Page 15 -
P. 15
ั
ิ
ิ
ุ
ิ
ื
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
กนกพร นุ่มทอง
การจะบรรลุถึงขั้นนั้นต้องอาศัยการฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง ดังที่
สิทธา พินิจภูวดลกล่าวไว้ใน คู่มือนักแปลอาชีพ ว่า
“ภาษาเป็นเครื่องมือชิ้นเอกของนักแปล เป็นเครื่องมือ
ื้
พนฐานที่ต้องการความหนักแน่นมั่นคงแข็งแรง ถ้าผู้แปลอ่อนภาษา
แล้ว งานแปลจะผิดพลาด และด้อยคุณภาพ ดังนั้นผู้แปลจึงต้อง
ฝึกฝนการใช้ภาษาให้แคล่วคล่องอยู่เสมอ ตามให้ทันความ
เปลี่ยนแปลงทางภาษาที่เกิดใหม่บ้างตายไปเพราะเสื่อมความนิยมบ้าง
ถ้าต้องการเป็นนักแปลถ่ายทอดระหว่างภาษาอังกฤษกับภาษาไทยก็
ต้องฝึกฝนความรู้ทั้งสองภาษาอยู่เสมอ จนมีความรู้ดีมากๆ ทั้งสอง
ภาษา อันที่จริงการที่มีผู้พูดว่า จะต้องรู้ภาษาทั้งสองดีเท่าๆ กัน” นั้น
หมายถึงผู้ที่มีธรรมชาติทวิภาษา (bilinggual) คือมีภาษาแม่
่
สองภาษาตั้งแต่เกิด เช่น เด็กไทย เกิดในอังกฤษอยู่กับพอแม่
อังกฤษ-ไทย เด็กไทยนั้นก็จะได้เรียนรู้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ไปพร้อมๆ กัน มีผู้กล่าวว่า นักแปลทวิภาษา เป็นนักแปลที่มี
คุณสมบัติครบถ้วนที่สุด เป็นนักแปลในอุดมคติ แต่จ านวนนักแปล
ี
ทวิภาษานั้นมีจ านวนน้อย ไม่เพยงพอต่อความต้องการงานแปลใน
สังคมปัจจุบัน ดังนั้นจึงต้องอาศัยระบบการศึกษาจัดการสร้างสรรค์
และผลิตนักแปลที่มีคุณสมบัติในแนวเดียวกับผู้ที่เป็นทวิภาษา นั่นคือ
การให้การศึกษาและการฝึกฝนให้ผู้แปลมีความรู้ความคล่องตัวใน
ิ
การใช้ภาษาสองภาษาอย่างดียิ่ง” (สิทธา พนิจภูวดล, 0543:
38-39)
6 บทน า ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการล่าม