Page 220 -
P. 220
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล” 189
็
ี
๊
จารึกนาน 8 ป กินเนสบุคบันทึกว่าเปน หนังสือที่ใหญ่ที่สุดในโลก และ องค์การยูเนสโกได้ประกาศ
้
็
่
ขึนทะเบียนเปนมรดกความทรงจ าแห่งโลก เมือเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 (Read Workbench, n.d.)
่
คณะท างานโครงการประกอบด้วยนักวิชาการ นักอนรักษ์ นักโบราณคดี ผู้เชียวชาญ
ุ
่
เทคโนโลยีสารสนเทศ จากหลายหนวยงาน อาทิ กรมโบราณคดีเมืองมัณฑเลย์ สถาบันการศึกษา
พุทธศาสตร์ชิตากุ สถาบันเอเชียและแอฟริกันศึกษา (Institute of Asian and African Studies)
ประเทศรัสเซีย คณะกรรมการผู้ดูแลวัดวัดกุโสดอ (The Kuthodaw Pagoda Trustee Committee)
่
็
รวมถึงสถาบันท้องถิ่น ได้ท าการท าความสะอาดซ่อมแซมจารึกส่วนทีเสียหาย ถ่ายภาพเปนไฟล์ภาพ
ดิจิทัลที่มีความละเอียดสูง จัดท าฐานข้อมูลภาพจารึกทุกแผ่น แล้วจัดท าเนือหาพระไตรปฎกเปน
ิ
็
้
ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ (Allon, Reade, Clark, McCrabb, Ditrich, Wiles, & Hudson, 2016, pp. 226-227)
ิ
โครงการจารึกพระไตรปฎกบนแผ่นทองเหลือง - ประเทศเมียนมา
โครงการจารึกพระไตรปฎกบนแผ่นทองเหลืองนาโดยพระ Bhaddanta Nyana
ิ
ี
็
้
วัด Shwe Kyin เมือง Bahan ประเทศเมียนมา เริ่มขึนในป พ.ศ. 2546 โดยท่านเปนผู้ควบคุมดูแล
ิ
ช่างฝมือให้จารึกเนือหาพระไตรปฎกบาลีฉบับฉัฏฐสังคายนา อักษรพม่าลงบนแผ่นทองเหลือง
ี
้
้
ิ
สูง 16 นิว กว้าง 8 นิว การจารึกเนือหาพระไตรปฎก 1 เล่มใช้ระยะเวลา 1 เดือน และใช้
้
้
ิ
้
แผ่นทองเหลืองจ านวนมากกว่า 200 แผ่น ดังนั้นการจารึกเนือหาพระไตรปฎกทั้ง 40 เล่มให้ครบถ้วน
์
สมบูรณจะใช้แผ่นทองเหลืองทั้งสิ้นจ านวน 9,628 แผ่น ซึ่งสาธุชนผู้มีจิตศรัทธามากกว่า 5,600 คน
ี
ได้บริจาคทรัพย์จัดหามา ใช้เวลาด าเนินการนาน 7 ปจึงแล้วเสร็จ จากนั้นจึงเริ่มด าเนินการจารึก
่
็
็
ิ
พระไตรปฎกเปนภาษาพม่าเปนล าดับต่อไป เพือให้ผู้ไม่มีความรู้ภาษาบาลีสามารถเข้าใจค าสอน
่
ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทีบันทึกในพระไตรปฎกได้ (Thein, 2009)
ิ
The Tripitaka Library - ประเทศเมียนมา
้
่
ิ
ห้องสมุดพระไตรปฎกตั้งอยูที่ถนนเจดีย์ กาบาเอ เมืองย่างกุ้ง ประเทศเมียนมา สร้างขึน
่
็
ี
่
่
ิ
เมือ 50 กว่าปก่อน เปนสถานทีเก็บคัมภีร์พระไตรปฎกใบลานและคัมภีร์ต่าง ๆ ทีใช้ในการท า
่
สังคายนาครั้งที 2 ในประเทศเมียนมา หรือทีพม่านับว่าเปนการสังคายนาครั้งที 6 เรียกว่า
่
็
่
ฉัฏฐสังคายนา กระท า ณ มหาปาสาณคูหา ใกล้เจดีย์กาบาเอ เนืองในโอกาสฉลอง 25 พุทธศตวรรษ
่
ิ
ระหว่างวันที 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 จนถึงวันที 24 พฤษภาคม พ.ศ.2499 เพือพิมพ์พระไตรปฎก
่
่
่
็
่
็
อรรถกถา และค าแปลเปนภาษาพม่า (Bansal, 2017) เมือเสร็จแล้วได้ตีพิมพ์เปนพระไตรปฎก
ิ
ฉบับฉัฏฐสังคายนาอักษรพม่าจ านวน 40 เล่ม แจกจ่ายไปในประเทศต่าง ๆ รวมทั้งประเทศไทยด้วย