Page 223 -
P. 223
ิ
ิ
ุ
ั
์
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
ิ
เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
192
the CARI Foundation แ ล ะ Japan Society for the Promotion of Science ( Kakenhi) แ ละ
ในป พ.ศ. 2556 MMDL ได้ด าเนินการโครงการถ่ายภาพคัมภีร์พระไตรปฎกใบลานเปนไฟล์ดิจิทัล
็
ิ
ี
จ านวน 775 มัดทีเก็บรักษาไว้ทีห้องสมุด U Pho Thi (Prutt, Ousaka, and Kasaamtsu, 2019, p. xi)
่
่
ซึ่งเปนสถานทีรวบรวมคัมภีร์พระไตรปฎกที่ครบถ้วนสมบูรณเพือการศึกษาของพระภิกษสามเณร
่
็
์
่
ุ
ิ
ตั้งอยูภายในวัด Saddhamma-jotikā-rāma Monastery เมืองสะเทิม ประเทศเมียนมา
่
ต่อมา MMDL ได้ท าความร่วมมือร่วมกับหอสมุดแห่งชาติเมียนมาในการบันทึกภาพ
่
่
ใบลานของวัดบากะยา (Bagaya) ซึงทางวัดได้มอบใบลานราวหนึงหมืนมัดให้กับหอสมุดแห่งชาติ
่
็
ี
็
่
ิ
กรุงเนปดอร์เปนผู้ดูแลเมือป พ.ศ. 2559 การบันทึกภาพในช่วงแรกเปนชุดคัมภีร์ใบลาน
ี
ิ
่
พระพุทธศาสนาภาษาบาลีทีจารคัดลอกก่อนป พ.ศ. 2393 อาทิ อรรถกถาพระวินัยปฎก จารคัดลอก
้
ี
ี
ั
ในป พ.ศ. 2290 และคัมภีร์มิลินทปญหา จารคัดลอกในป พ.ศ. 2302 คัมภีร์เก่าแก่เหล่านีนับว่า
็
้
่
้
มีความส าคัญอย่างยิ่งเพราะสร้างขึนก่อนการสังคายนาครั้งที 5 ในประเทศเมียนมา จึงเปนเนือความ
ทีสืบทอดในจารีตพม่ายุคแรก ๆ ทีไม่ได้รับอิทธิพลจากการสังคายนาครั้งที 6 MMDL ได้นาภาพถ่าย
่
่
่
จากห้องสมุด U Pho Thi และวัดบากะยา (Bagaya) ไปสร้างฐานข้อมูลภาพคัมภีร์ใบลาน เผยแพร่
่
ิ
์
บนเว็บไซต์ซึงเปดให้ผู้สนใจสามารถดาวนโหลดไฟล์ได้จากทุกมุมโลก (Scott, n.d.)
สถาบันวิจัยวิปสสนา (The Vipassana Research Institute: VRI) - ประเทศอินเดีย
ั
้
ี
่
็
เปนองค์กรไม่แสวงผลก าไร ก่อตั้งขึนเมือป พ.ศ. 2528 โดยท่านสัตยา นารายัน โกเอ็นก้า
่
่
่
่
ั
(Satya Narayan Goenka) อาจารย์สอนวิปสสนาชาวอินเดียทีมีชือเสียง ตั้งอยูทีเมืองอิกัตปุรี
ในรัฐมหารัชตะ มีศูนย์กระจายทั่วโลก 162 ศูนย์ วัตถุประสงค์หลักของสถาบัน คือ การค้นคว้าวิจัย
เทคนิคการปฏิบัติสมาธิวิปสสนาในเชิงวิทยาศาสตร์ และการปฏิบัติตามค าสอน
ั
ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าซึงบันทึกไว้ในคัมภีร์พระไตรปฎกและอรรถกถาภาษาบาลี ในระยะแรก
่
ิ
ิ
ิ
สถาบันได้รวบรวมพระไตรปฎกบาลีอักษรพม่าฉบับฉัฏฐสังคีติและอรรถกถา นาไปจัดท าพระไตรปฎก
์
่
่
บาลีอักษรเทวนาครีทีสมบูรณ ได้รับการรับรองจากผู้เชียวชาญภาษาบาลีจากประเทศต่าง ๆ รวมทั้ง
ุ
ิ
พระภิกษ และนักวิจัยในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และตีพิมพ์เผยแพร่ไปทั่วโลก พระไตรปฎก
้
้
ชุดนีมีจ านวน 140 เล่ม แต่ละเล่มมีขนาดประมาณ 400 หนา (อัชวัน หงิมรักษา, 2562, น. 79-81)
็
ิ
ต่อมาช่วงป พ.ศ. 2497-2499 พระไตรปฎกบาลีอักษรเทวนาครีได้ถูกแปลงเปนระบบดิจิทัล
ี
่
เผยแพร่ในรูปแบบซีดีรอม “Chaṭṭha Saṅgāyana CD” (CSCD) ซึงพัฒนาเรือยมาจนถึงเวอร์ชั่น 3
่
บรรจุพระไตรปฎก 7 อักษร ได้แก่ อักษรเทวนาครี โรมัน สิงหล ไทย ขอม มองโกเลีย และพม่า
ิ
่
้
ุ
รวมทั้งอรรถกถา ฎีกา อนฎีกา และคัมภีร์บาลีอืน รวมทั้งสิน 217 เล่ม (Vipassana Research