Page 225 -
P. 225

ิ
                                 ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                       ื
                                    ์
                                                                ั
                                                                        ุ
                                        ิ
                                                  ิ
                   เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
         194
              Access to Insight (ATI) - ประเทศสหรัฐอเมริกา

                                           ี
                                                            ่
              ก่อตั้งโดย นาย John Bullitt เมือปพ.ศ. 2536 ภายใต้ชือว่า BCBS OnLine ในยุคเริ่มแรก
                                        ่
         ็
       เปนการให้บริการเผยแพร่ข้อมูลผ่านกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ของเครือข่าย (Bulletin Board
                          ์
                                                                          ่
                                                           ่
                                                                                 ็
                                                                              ่
       System) เพื่อประโยชนด้านการศึกษาพระพุทธศาสนาให้แก่ผู้ทีสนใจ ต่อมาจึงเปลียนชือเปน Access
       to Insight และมีพัฒนารูปแบบการบริการผ่านเว็บไซต์ ในป พ.ศ. 2560 ได้เปลียนกรรมสิทธิ์และ
                                                          ี
                                                                           ่
                                                                          ่
                      ็
                                                                        ่
       ผู้ดูแลเว็บไซต์เปนของ Barre Center for Buddhist Studies (BCBS) ตั้งอยูทีรัฐแมสซาชูเซตส์
                                  ็
       ประเทศสหรัฐอเมริกา ปจจุบันเปนเว็บไซต์ทีรวบรวมคลังหนังสือของพระพุทธศาสนาเถรวาท ทีผู้ใช้
                                                                                      ่
                           ั
                                            ่
       สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลภาษาอังกฤษทีแปลจากภาษาคัมภีร์ภาษาบาลีทั้งพระไตรปฎก อรรถกถา
                                                                             ิ
                                         ่
                                                                                      ุ
                      ็
       ส่วนใหญ่เนือหาเปนงานแปลพระสูตรมากกว่า 1,000 พระสูตร รวมถึงงานเขียนของพระภิกษและ
                 ้
       นักวิชาการฝายเถรวาทจากประเทศศรีลังกา ไทย เมียนมา ลาว และกัมพูชา (Access to Insight,
                 ่
                                       ่
                                                                           ่
       2017) นอกจากนียังมีแอปพลิเคชั่นทีผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลบนเว็บไซต์ทุกทีทุกเวลาแม้ไม่ได้
                      ้
       เชือมต่อกับอินเทอร์เนตอีกด้วย
         ่
                         ็
       บทสรุป
              เราจะเห็นได้ว่าองค์กร หนวยงาน และโครงการ ทีท างานเกียวกับพระไตรปฎก ไม่ได้จ ากัด
                                                                            ิ
                                    ่
                                                               ่
                                                       ่
                                                ่
         ่
                    ่
                                                                             ็
       อยูเฉพาะในหมูชาวพุทธเท่านั้น แต่ขยายงานไปสูวงกว้างระดับนานาชาติ ก่อเกิดเปนความร่วมมือ
                                                         ้
                                                                                  ิ
                                     ่
                             ้
       ในท างานให้ลุล่วงตามเปาหมายทีวางไว้  ทั้งกลุ่มทีมีเปาหมายสร้างสรรค์พระไตรปฎกบาลี
                                                     ่
       อักษรต่าง ๆ หรือปริวรรตถ่ายถอดเปนภาษาอืน ๆ หรือจะเปนกลุ่มทีตั้งเปารักษา สืบทอด และ
                                                                       ้
                                                                   ่
                                                            ็
                                               ่
                                       ็
                                                        ่
       เผยแพร่คลังค าสอนทีบันทึกไว้ในพระไตรปฎกด้วยรูปแบบทีแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเปนการสวดทรงจ า
                                                                           ็
                         ่
                                          ิ
                                                            ็
                                                                                   ็
                               ุ
       คล้ายดังสมัยพุทธกาล การอนรักษ์ผ่านการจารจารึก การพิมพ์เปนเล่มหนังสือ หรือพัฒนาเปนระบบ
                                                               ่
       ดิจิทัลให้เข้ากับยุคเทคโนโลยีในปจจุบัน ต่างส่งเสริมซึงกันและกัน ทีส าคัญการท างานของทุกองค์กร
                                  ั
                                                   ่
         ่
       หนวยงาน และโครงการ ไม่ว่าจะขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ได้ก่อให้เกิดความมั่นคงในการส่งต่อ
       พระธรรมค าสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้ยืนยาวต่อไป
   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230