Page 174 -
P. 174

ิ
                                    ์
                       ื
                         ิ
                                                                ั
                                                                        ุ
                                        ิ
                                                  ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                                           สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล”   143
                           ั
                    ่
                                                                               ั
            เหตุผลทีไม่ตอบปญหาทางอภิปรัชญา พระพุทธเจ้าไม่ทรงสนพระทัยการโต้เถียงปญหาทางอภิปรัชญา
            ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี คือ 1) ไม่เปนประโยชน คนพูดโต้เถียงย่อมเปนคนโง่เขลา กว่าจะได้ค าตอบ
                                         ็
                                                                      ็
                               ้
                                                   ์
                                                                                    ี
                                                                                               ้
            ก็ตายก่อน ทั้งนักคิดชาวตะวันตกและนักคิดชาวตะวันออกได้พยายามมาตั้งหลายพันปจนถึงทุกวันนี
                                                                                         ่
            ก็ยังตอบไม่ถูก 2) ไม่ใช่ทางพ้นทุกข์ คิดไปก็เสียเวลาเปล่า 3) ไม่ใช่เรื่องรีบด่วน มีเรื่องอื่นทีเร่งด่วน
            กว่าทีจ าต้องรีบคิดแก้ไข คือทุกคนมีทุกข์ต้องรีบดับทุกข์ก่อน และ 4) ไม่ใช่เพราะพระองค์ไม่รู้ค าตอบ
                 ่
                    ด้วยเหตุนี พระพุทธเจ้าครั้นถูกถาม พระองค์จะนิ่งเฉยเสียหรือปฏิเสธตรง ๆ หรือ
                             ้
                                                         ็
            ให้ยกค าถามไว้ก่อนว่ายังไม่สมควรตอบ การไม่ตอบเปนความฉลาด ถ้าตอบ"ใช่" ก็ต้องตกอยู่ในข่าย
            ของสัสสตวาทะ (ความเห็นว่าวิญญาณเทียง) ถ้าตอบ “ไม่ใช่” ก็จะอยูในข่ายอุจเฉทวาทะ (ความเห็นว่า
                                              ่
                                                                    ่
                                                                                           ้
            วิญญาณขาดสูญ) ผู้ใดมีศักยภาพสามารถรู้อดีตและอนาคตไม่มีขีดจ ากัดจะรู้และตอบปญหานีได้ดี
                                                                                     ั
            เมือมีปญหาถามมา พระพุทธเจ้ามีวิธีจัดการกับค าถาม  สามารถจ าแนกวิธีตอบได้ 4 แบบ
              ่
                   ั
                                                                             ์
            (ที.ปา 11/225/241) คือ 1) ตอบตรง ๆ (ใช่ หรือไม่ใช่) เรียกว่า เอกังสพยากรณ 2) ตอบแบบวิเคราะห์
            (แยกตอบ) เรียกว่า วิภัชชพยากรณ 3) ตอบแบบย้อนถามว่าหมายถึงอะไร เรียกว่า ปฏิปุจฉาพยากรณ  ์
                                         ์
            4) บางคราวปญหาต้องยกเอาไว้ก่อน เรียกว่า ฐปนียพยากรณ จากการปฏิบัติจริง ค าตอบต่อ
                                                                    ์
                         ั
                                                   ์
                                       ่
                                  ็
            อัพยากตปญหาเหล่านีก็เปนสิ่งทีเปล่าประโยชน  และจากฐานความคิดทางปรัชญาเอง นักปรัชญาก็ยัง
                     ั
                               ้
                                   ็
                                                                                ้
            หาไม่พบค าตอบสุดท้ายเปนที่ยอมรับกันได้โดยทั่วไป เพราะคิดแล้วไม่รู้จักจบสินดังกล่าว ดังนั้น
            พระองค์จึงไม่ตอบปญหานี  ้
                             ั
                                                                            ่
                                                          ่
                                                ่
                                                                  ้
                                                                                            ุ
                    สรุปว่า ทีไม่ทรงตอบนั่นแหละถูกทีสุด เพราะเรืองเหล่านีพูดไม่ได้ อยูเหนือค าพูดของมนษย์
                           ่
                                                           ์
            พระพุทธศาสนามหายานนิกายเซ็นถือว่า ประสบการณทางศาสนาขั้นสูงสุดนั้น อยูเหนือความคิด
                                                                                   ่
                                                                                           ่
                                                    ่
                ุ
            (เหตผล) และภาษา เมือจะนาออกเผยแพร่แก่ผู้อืนจะต้องลดทอนลงถึง 2 ระดับ คือ ลดทอนลงสูระดับ
                               ่

                                                                    ่
                                                                                 ้
                                                                                       ่
            ความคิดทางเหตุผลก่อน แล้วลดลงสูสัญลักษณทางภาษาหรือการสือสารทีบัญญัติขึนในหมูชนต่าง ๆ
                                                                         ่
                                                   ์
                                           ่
            อีกระดับหนึง ด้วยเหตนี สิ่งทีผ่านสือจึงไม่ใช่สิ่งจริงทั้งหมดหรือสิ่งสากล ดังนั้น ตามทรรศนะนีถือว่า
                      ่
                               ุ
                                                                                          ้
                                ้
                                     ่
                                          ่
            พระพุทธศาสนามิได้คัดค้านหลักความจริงทางอภิปรัชญา แต่ต้องรู้ให้จริง รู้ให้ถึงแก่นของอภิปรัชญา
                                                                                         ่
            เท่านั้น การรู้แจ้งจะไม่ท าให้หลงยึดติด เมือไม่หลงยึดติด ทิฏฐิเหล่านีก็ไม่อาจผูกพันให้หลงวนอยูในข่าย
                                              ่
                                                                   ้
                                           ่
            แห่งอภิปรัชญาเหมือนปลาติดแห ดังทีพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ในพรหมชาลสูตร (ที. สี. 9/28-149/11-47)
                                                                                       ่
                    ขอนาพระสูตรทีว่าด้วยท่าทีของพระพุทธศาสนาต่อปญหาทางอภิปรัชญา ซึงปรากฏ

                                  ่
                                                                   ั
                                                                         ส
            ในคัมภีร์สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค หมวดอัพยากตสังยุต (สัง. ฬ า .18/410/468) และ
                                                     ั
            จูฬมาลุงกยสูตรในคัมภีร์มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก์ (ม.ม.13/126-128/137-141) มาเสนอ
                         ็
            เพือพิจารณาเปนตัวอย่าง ดังต่อไปนี  ้
               ่
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179