Page 172 -
P. 172

์
                                        ิ
                                                  ิ
                       ื
                         ิ
                                 ิ
                                                                        ุ
                                                                ั
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                                           สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล”   141
                                                                                      ่
            โลก และวิญญาณ ตลอดความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งในสากลจักรวาล การเกิดขึ้น ตั้งอยูและดับไป
                           ์
                                                         ์
                                         ่
                                       ่
            ของปรากฏการณ และบางสิ่งทีอยูเหนือปรากฏการณ พระพุทธศาสนากับพุทธปรัชญาเหมือนหรือ
            ต่างกันอย่างไร ? พระศรีคัมภีรญาณ (สมจินต์ วันจันทร์) (2544: 36-37) อธิบายว่า พุทธปรัชญา
            จะแทรกอยู่ในขอบข่ายทั้ง 4 ของพระพุทธศาสนา คือ 1) ศาสนธรรม 2)  ศาสนวัตถุ 3) ศาสนบุคคล
                             ่
            และ 4) ศาสนพิธี ซึงล้วนมีนัยเชิงปรัชญาแฝงอยู ประเด็นใดบ้างเปนพุทธปรัชญา ? ต้องพิจารณา
                                                      ่
                                                                     ็
            องค์ประกอบ 2 คือ 1) มูลเหตุจูงใจและลักษณะการแสดงธรรม 2) เนือหาของพุทธธรรมและลักษณะ
                                                                     ้
            การอธิบาย

                      ่
                    เมือพิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่า พระพุทธศาสนากับพุทธปรัชญาไม่มีความเหมือนและ
            ความแตกต่างกันเด่นชัด  พุทธธรรมทั้งหมดเปนพระพุทธศาสนา จะมีความเปนพุทธปรัชญาหรือไม่
                                                                             ็
                                                   ็
                                                               ็
                 ่
              ้
            ขึนอยูกับการวิเคราะห์ เช่น อายตนะ 12  กับวิญญาณ 6 ถ้าเปนการแสดงเชิงพรรณนาว่า อายตนะ 12
            คือ ตา+รูป  หู+เสียง จมูก+กลิ่น ลิน+รส กาย+โผฏฐัพพะ  ใจ+ธรรมารมณ เมืออายตนะแต่ละคู
                                                                                               ่
                                          ้
                                                                             ์
                                                                                ่
                                                                       ุ
                                                                                  ็
            กระทบกัน เช่น ตากับรูปกระทบกันเกิดการรับรู้ทางตา เรียกว่า จักษวิญญาณ เปนต้น การแสดง
            เชิงพรรณนาอย่างนี จัดเปนพระพุทธศาสนา
                                 ็
                            ้
                                         ่
                    ถ้าแสดงเชิงวิเคราะห์ เมือตากับรูปกระทบกันเพราะเหตุไรจึงท าให้เกิดการรับรู้ทางตา ?
            ความเปนตา (จักขุตา) กับความเปนรูป (รูปตา) มีภาวะร่วมกันและกันอยูทางตา เพราะตากับรูป
                                          ็
                                                                           ่
                   ็
            มีภาวะ 2 ส่วน คือ 1) ภาวะของตัวเอง 2) ภาวะร่วมกัน สาเหตุที่ตาไม่สามารถได้ยินเสียงเพราะ
                                                   ้
                                                       ็
            ขาดภาวะร่วมกัน การแสดงเชิงวิเคราะห์อย่างนีจัดเปนพุทธปรัชญา
                    ปรัชญามีหลายสาขา ที่นามาพิจารณาประกอบด้วย 1) อภิปรัชญา ศึกษาเรืองธรรมชาติ
                                                                                    ่

                          ุ
            ของโลกและมนษย์  2) ญาณวิทยา ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีความรู้หรือความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับ
                                                                             ุ
                                      ่
               ุ
            มนษย์ 3) จริยศาสตร์ ศึกษาเรืองความประพฤติหรือความสัมพันธ์ระหว่างมนษย์ระหว่างตัวเองกับ
                    ุ
               ่
            เพือนมนษย์ ในทีนีจะได้ศึกษาประเด็นด้าน พุทธอภิปรัชญา พุทธญาณวิทยา และพุทธจริยศาสตร์
                           ่
                            ้
            โดยสังเขป
            3. พุทธอภิปรัชญา
                    อภิปรัชญา คือ สาขาปรัชญาทีศึกษาหาความเปนจริงของสิ่งทั้งหลายโดยใช้เหตุผล
                                                               ็
                                               ่
                                           ็
            เปนเครืองมือ หรือเรียก สั้น ๆ ว่า เปนวิชาทีว่าด้วยการคาดคะเนความจริงด้วยเหตุผล ไม่ยอมเชือ
                   ่
                                                  ่
                                                                                              ่
              ็
                          ่
            อะไรง่าย ๆ ดังทีพระพุทธเจ้าตรัสไว้ในกาลามสูตรหรือเกสปุตตสูตร (อัง.ติก.20/505/212) พระพุทธเจ้า
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177