Page 137 -
P. 137
ิ
ื
ุ
ั
ิ
ิ
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
กนกพร นุ่มทอง
ตั้งขึ้นหลังราชวงศ์พุกามสิ้นสลาย อาณาจักรดังกล่าวเป็นอาณาจักรของชาวมอญ ไป๋กู่หรือป๋อ
กู้ก็คือเมืองพะโค
21. จิ่งเซี่ยน(景线)น่าจะหมายถึงเชียงแสน ดูแผนที่ประกอบ
22. อิ้งหลี่(应里) อิ้งหลง(应龙)กษัตริย์พม่า เอกสารจีนเรียกเต็มว่าหมั่งอิ้งหลี่
(莽应里)และหมั่งอิ้งหลง(莽应龙)หมั่งน่าจะเป็นการถ่ายถอดเสียงจากค าว่ามัง
โดยทั่วไป หมั่งอิ้งหลี่ในเอกสารจีนคือพระเจ้านันทบุเรง(Nanda Bayin) ซึ่งครองราชย์
ระหว่างปี พ.ศ.2124 – พ.ศ.2142 ในขณะที่หมั่งอิ้งหลงในเอกสารจีนหมายถึงพระเจ้าบุเรง
นอง (Bayinnaung) ซึ่งเป็นพระราชบิดาของพระเจ้านันทบุเรง ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.
2094 – พ.ศ.2124 แต่พงศาวดารราชวงศ์หมิงน่าจะมีความคลาดเคลื่อนในการบันทึก โดย
เขียนว่า อิ้งหลงเป็นน้องชายของอิ้งหลี่ มาครองเชียงใหม่ แต่และเป็นผู้ที่มายึดครองล้านนา
ิ
เหตุการณ์ตอนนี้มีบันทึกไว้ในกั๋วเช่ว์ ซึ่งเขียนขึ้นปลายราชวงศ์หมิงต้นราชวงศ์ชง (ก่อน
พงศาวดารราชวงศ์หมิง) กั๋วเชว์ระบุว่า เหตุการณ์นี้เกิดในปี ค.ศ.1552 / พ.ศ.2095 ส่วน
่
ประมุขพม่าที่เป็นพี่ชายของหมั่งอิ้งหลงคือหมั่งรุ่ยถี่(莽瑞体)ดูตารางที่ 7.3 ประกอบ
อย่างไรก็ดี เรื่องปีที่เกิดเหตุการณ์และบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นต้องสอบทานเพิ่ม หมั่งรุ่ยถี่เป็นชอ
ื่
ที่เอกสารจีนใชเรียกพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ซึ่งครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.2074 – พ.ศ.2093
้
่
นอกจากนี้ เตียนซี่ซึ่งเป็นบันทึกประวัติศาสตร์ยูนนาน มีกล่าวถึงหมั่งรุ่ยถี่เชนกัน ดูตารางที่
24.3 ประกอบ
23. ส านักซื่ออี้(四译馆)คือส านักซื่ออี๋ในตารางที่ 1.3 หลังจากแมนจูเข้าด่านมา
ื่
ปกครองจีน ได้เปลี่ยนชอส านักซื่ออี๋ (สี่อนารยะ) เป็นส านักซื่ออี้ (การแปลทั้งสี่) จริงๆ แล้ว
ื่
เหตุการณ์ในตารางนี้เกิดขึ้นในรัชศกวั่นลี่ ราชวงศ์หมิง ซึ่งยังใชชอว่าส านักซื่ออี๋อยู่ แต่การ
้
เรียบเรียงพงศาวดารราชวงศ์หมิงเกิดขึ้นในราชวงศ์ชิง ผู้เรียบเรียงพงศาวดารราชวงศ์หมิงอาจ
110