Page 91 -
P. 91
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พจนานุกรมศัพท์ปุ๋ยและธาตุอาหารพืช
channel ช่องผ่ำน : โปรตีนขนส่งในเยื่อ จัดโครงรูปเป็นท่อกลวงทะลุผ่านเยื่อ ควบคุมการปิดและเปิด
ช่องผ่านได้ ภายในช่องมีน�้าเป็นตัวกลางส�าหรับการแพร่ของสาร (ภาพที่ C5) ท�าหน้าที่เฉพาะ
ในการขนส่งสารแต่ละชนิด เช่น ช่องผ่านของน�้า (aquaporins) ไอออนอินทรีย์ ตัวละลาย
ไร้ประจุ แคตไอออน และแอนไอออน (ดู aquaporins และ ion channels ประกอบ)
ภำพที่ C5 ช่องผ่านของไอออน น�้า และสารอินทรีย์ ในเยื่อหุ้มเซลล์
ที่มา: ปรับปรุงจาก https://cnx.org/Membrane-Channel-Types
chelate คีเลต : สารประกอบที่เกิดขึ้นจากการจับตัวระหว่างไอออนของโลหะกับสารคีเลต (chelating
agent) ด้วยพันธะเคมีสองหรือมากกว่าสองแห่ง การเชื่อมโยงดังกล่าวท�าให้เกิดสารใหม่ที่มี
โครงสร้างเป็นวงแหวน และมีโลหะเป็นองค์ประกอบตรงกลางของวงแหวนนั้น (chela, G: ก้ามปู
ก้ามกุ้ง กรงเล็บ หรือกรรไกร)
chelated plant nutrients ธำตุอำหำรพืชคีเลต : สารประกอบที่มีไอออนของโลหะพวกธาตุรอง
(แคลเซียม แมกนีเซียม) หรือไอออนของโลหะพวกจุลธาตุ (เหล็ก ทองแดง แมงกานีส สังกะสี)
อยู่ในโครงสร้างที่ล้อมรอบด้วยสารคีเลต เป็นปุ๋ยใช้ฉีดพ่นทางใบและใส่ในสารละลายธาตุอาหาร
ส�าหรับปลูกพืช
chelation คีเลชัน : ปฏิกิริยาสมดุลระหว่างไอออนของโลหะกับสารคีเลต ซึ่งจับกันด้วยพันธะโคออดิเนต
โคเวเลนซ์ ได้คีเลตซึ่งมีโครงสร้างเป็นวงแหวน สารคีเลตต้องมีหมู่ท�าหน้าที่ตั้งแต่ 2 หมู่ขึ้นไป จึงมี
พันธะเคมีระหว่างไอออนของโลหะกับสารคีเลตเกิดขึ้นหลายจุด และมีเสถียรภาพ ท�าให้ไอออนของ
โลหะในโครงสร้างคีเลตถูกแทนที่ได้ยาก
chelating agent สำรคีเลต : ลิแกนด์ (ligand) ชนิดที่มีพันธะกับไอออนของโลหะได้สองหรือมากกว่า
สองจุด เมื่อไอออนของโลหะเข้ารวมกับสารคีเลตแล้วจะได้คีเลต (chelate) มี 2 ประเภท คือ (1)
40 ปี 91
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย