Page 7 -
P. 7

ิ
                                                       ิ
                             ็
               ั
                      ั
                                                              ี
                                                                                        ู
                                                                                          ั
                                                                                        ่
                                                                              ็
                                                                                     ้
      โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
                          บ ท บ ร ร ณ า ธิ ก า ร



                กัญชา จัดเป็นพืชทางเลือกที่ถูกน�าไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์มากมาย เพื่อใช้
           บรรเทาอาการเจ็บปวด ลดอาการอักเสบ ลดอาการเกร็ง ชักกระตุกของกล้ามเนื้อ ยับยั้ง
           การกระจายตัวของเซลล์มะเร็ง ลดอาการลมชัก ช่วยให้หลับง่าย ฯลฯ เนื่องจากมีองค์
           ประกอบที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ซึ่งผลประโยชน์ทางการแพทย์ดังกล่าว ได้ผลักดันให้
                                              ี
                                           ึ
           กัญชาได้กลายเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหน่งท่หลายประเทศให้ความสนใจ โดยในแต่ละ
           ประเทศ กฎหมายการปลูก การครอบครอง และการจ�าหน่ายกัญชา มีความแตกต่างกัน
           ซ่งปัจจุบัน ประเทศไทยได้มีการปรับปรุงพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
            ึ
           เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากกญชาในการวจัยและทางการแพทย์ได้ อย่างไรก็ตาม
                                                ิ
                                      ั
           ข้อมูลเกี่ยวกับความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจของการเพาะปลูก และใช้ประโยชน์ทางการแพทย์
           จากกัญชาของประเทศไทยยังมีอยู่อย่างจ�ากัด

                เอกสารเล่มนี้ เป็นการสังเคราะห์เนื้อหาจากรายงานการศึกษาเรื่อง “ผลกระทบ
                                                 ื
           ทางเศรษฐกิจของการเพาะปลูกกัญชาเพ่อเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย”  โดย
           ผศ.ดร.รวิสสาข์ สุชาโต และคณะ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร
                                                                          �
           คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สานักงาน
                                                                     ี
                                                                               ่
                                                                               ื
           คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) มเป้าหมายเพอ
           ศึกษาถอดบทเรียนต่างประเทศในการอนุญาตให้เพาะปลูกและใช้ประโยชน์จากกัญชา
                                             ี
           ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความเสี่ยงท่อาจเกิดข้นตลอดจนแนวทางในการส่งเสริม
                                                    ึ
           การอนุญาตให้เพาะปลูกกัญชาเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย
                สานักประสานงาน “งานวิจัยเชิงนโยบายเกษตรและเสริมสร้างเครือข่าย
                  �
           งานวิจัยเชิงนโยบาย” เห็นว่างานวิจัยนี้ ได้น�าเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา
           อุตสาหกรรมกัญชาทางการแพทย์ของไทย และรวมถึงสามารถน�าข้อมูลไปประกอบใช้ใน
                                                                          ู
                  �
                                                            ุ
           การจัดทานโยบาย เพื่อกาหนดแนวทางการส่งเสริมการอนญาตให้เพาะปลกกัญชา
                                �
           ทางการแพทย์ของไทยในอนาคต
                  ึ
                ซ่งสานักประสานงานฯ ขอขอบคุณ ศ.ดร.ประยงค์ เนตยารักษ์ ผู้ทรงคุณวุฒิที่สละ
                    �
                        ื
           เวลาพิจารณาเน้อหาของเอกสาร และขอขอบคุณ ผศ.ดร.รวิสสาข์ สุชาโต และคณะ
           ท่ได้จัดทาสังเคราะห์ข้อความรู้จากรายงานวิจัยข้นเป็นเอกสารวิชาการเล่มน มา ณ โอกาส
            ี
                  �
                                                 ึ
                                                                      ี
                                                                      ้
           นี้

                                                                      บรรณาธิการ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12