Page 47 -
P. 47

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                           44



                            ความวิตกกังวลและโรคหัวใจขาดเลือด  :  พบวาผูปวยโรคหัวใจขาดเลือดเปนจํานวนมากมี

                     อาการวิตกกังวล  แตมีการศึกษาเพียงบางรายงานที่พบวา ภาวะวิตกกังวลเปนปจจัยเสี่ยงตอความ

                     รุนแรงของอาการ (Byrne)


                            บุคลิกภาพและโรคหัวใจขาดเลือด : พบวาบุคลิกภาพชนิด A มีความสัมพันธกับโรคหัวใจขาด

                     เลือด  ลักษณะของผูที่มีบุคลิกภาพชนิดนี้ คือ มีทาทีไมเปนมิตร  ชางระแวงสงสัย  พูดจาถากถางผูอื่น

                     เปนนิสัย  มีอารมณโกรธอยูเสมอ   ทะเยอทะยาน  ชอบแขงขัน  ขาดความอดทน  โดยที่ผูปวยจะมี
                     ความวิตกกังวลลึกๆอยูภายในใจ  รวมทั้งมีความรูสึกขาดความเชื่อมั่นในตนเอง และกลัวความลมเหลว

                            ผูปวยซึ่งมีบุคลิกภาพชนิดนี้จะมีความผิดปกติดังตอไปนี้

                            -  ระบบประสาทอัตโนมัติตื่นตัวอยูตลอดเวลา

                            -  มีพฤติกรรมซึ่งเปนผลรายตอตัวเอง  เชน ขาดการออกกําลังกาย  ชอบสูบบุหรี่ และดื่ม

                                สุรา และรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง


                            กลไกทางจิตและโรคหัวใจขาดเลือด   :  กลไกปองกันตัวเองชนิดปฏิเสธไมยอมรับความจริง

                     (denial)  เปนปจจัยเสี่ยงที่สําคัญประการหนึ่งของโรคหัวใจขาดเลือด  โดยผูปวยจะไมรับรูเกี่ยวกับ
                     อาการของโรคหัวใจขาดเลือด  ทําใหไมไปพบแพทยเพื่อรับการรั กษาใหทันทวงทีซึ่งเปนอันตรายอยาง

                     ยิ่ง  การใชกลไกทางจิตชนิดนี้เปนการสะทอนใหเห็นความรูสึกวิตกกังวลซึ่งผูปวยมีอยูลึกๆภายในใจ

                     แตในทางตรงขาม พบวาการปฎิเสธไมยอมรับความจริงระหวางอยูในโรงพยาบาลอาจเปนผลดีตอ

                     ผูปวย  โดยลดความรุนแรงของอาการเสียชีวิตลงได (Levenson)


                            1.2 Hypertension (ความดันโลหิตสูง)
                            พบวามากกวารอยละ 90 ของผูปวยที่มีความดันโลหิตสูง เปน Essential  หรือ idiopathic

                     hypertension (ความดันเลือดสูงโดยไมทราบสาเหตุ)  สวนความดันโลหิตสูงที่เหลืออีกราวๆรอยละ 5-

                     10 เกิดจากโรคไต โรคตอมไรทอ โรคของระบบประสาท และโรคอื่นๆ

                            ปจจัยสําคัญที่มีผลตอการเปนโรคความดันโลหิตสูง  ทั้งในเรื่องความเสี่ยงตอการเปนโรคและ

                     การดําเนินโรค  ไดแก ความเครียด และความวิตกกังวล  จากการวิจัยพบวาผูที่อยูในวัยกลางคน ซึ่งมี
                     ความวิตกกังวลอยูเปนประจําจะมี  sympathetic  hyperactivity   อยูตลอดเวลา  ซึ่งมีผลทําใหเกิด

                     ความดันโลหิตสูงอยางตอเนื่อง  รวมทั้งภาวะเครียดจากการงานอันเปนผลมาจากความ  มุงมั่นและ

                     หมกมุนมากเกินไป จะทําใหเปนโรคความดันโลหิตสูง และหัวใจหองซายโต (schnell)

                            มีการอธิบาย วา ความดันโลหิตสูงเกิดจากความขั ดแยงภายใจจิตใจอันเนื่องมาจากการที่
                     ผูปวยไมสามารถแสดงความรูสึกที่ไมเปนมิตรหรือกาวราว ออกมาไดจึงทําใหเกิด   sympathetic
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52