Page 48 -
P. 48

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                           45



                     discharge   อยางรุนแรงและความดันโลหิตสูงขึ้น  จนถึงปจจุบัน ยังพบวามีบุคลิกภาพที่จําเพาะ

                     สําหรับผูปวยโรคนี้  แตบางศึกษาพบวาผูป  วย ความดันโลหิตสูงมักมีลักษณะ     passive
                     dependence, guilt  ridden, insecure, tense และ compulsive สําหรับอารมณบางอยาง เชน  ความ

                     กลัว ความวิตกกังวล ความโกรธอาจทําใหความดันโลหิตสูงขึ้นอีกในผูปวยที่มีความดันโลหิตสูงอยูแลว



                            2. Asthma (โรคหืด)

                            เปนอาการที่เกิดขึ้นเรื้อรังเกี่ยวกับทอทางเดินอากาศเขาสูปอด โดยหลอดลมอาจหดตัวเล็กลง
                     ทําใหอากาศเขาไปในถุงลมปอดไดนอย ผูปวยจะมีอาการหายใจไมออก พยายามหายใจใหเร็วขึ้น สั้น

                     ขึ้น จนทําใหเกิดอาการหอบหืด

                            อาการดังกลาวอาจเกิดไดจากหลายสาเหตุ ทั้งปจจัยทางดานกายภาพ เช น แพฝุน แพอากาศ
                     และปจจัยทางดานจิตวิทยา ซึ่งมีผลทําใหอาการดังกลาวรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อผูปวย

                     ตองการความสนใจจากคนรอบขาง หรือเมื่ออยูในภาวะเครียด

                            ผูปวยสวนใหญมักอยูในกลุมของผูมีอาการซึมเศรา  (Depress)  และอาจอยูในครอบครัวที่มี

                     ปญหา มักเกิดขึ้นมากในเด็กอายุ  6 – 12 ป


                            3. Headaches (ปวดศีรษะ)

                            อาการปวดศีรษะเปนอาการทางประสาทวิทยาและอาการทางรางกายที่พบบอยที่สุดอยาง

                     หนึ่ง  สวนใหญอาการปวดศีรษะมักไมสัมพันธกับโรคทางรางกายที่รุนแรง  คนสวนมากมักปวดศีรษะ
                     เมื่อมีความตึงเครียดทางอา รมณ  และอาจมาจากความเชื่อแบบ  delusion  หรือเพื่อเปนสื่อให

                     บุคคลภายนอกรอบตัวผูปวยใหความสนใจกับผูปวยมากขึ้น

                            องคประกอบของ Headaches   มีดวยกัน 3 อยาง

                     1.  มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาเกิดขึ้นในรางกาย (อาการที่พบบอย คือการหดตัวของกลามเนื้อ
                        และการขยายตัวของหลอดเลือด

                     2.  เกิดอาการปวด

                     3.  พฤติกรรมที่กระทําเมื่อเกิดอาการปวด  (การทานยา  การหลีกหนีจากครอบครัวและกิจกรรมทาง

                        สังคม  การขาดงาน)
                            ชนิดของโรคปวดศีรษะ

                        1. Muscle - contraction  Headache (Tension Headache) :

                        2. Migraine Headache :

                           3. Cluster  Headache :
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53