Page 50 -
P. 50

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                           47




                                       ลักษณะที่แตกตางกันของอาการปวดศีรษะทั้งสามชนิด
                       ลักษณะเฉพาะ         Muscle-contraction         Migraine                   Cluster
                                              Headache                                          Headache
                     เพศของผูปวย      ไมแตกตางกันระหวาง   พบมากกวาในผูหญิง      พบมากกวาในผูชาย
                                        ผูหญิงและผูชาย

                     ลักษณะของการปวด  ปวดเหมือนมีอะไรมารัด     ปวดเปนจังหวะ   ปวดตุบๆ   ปวดเหมือนมีอะไรทิ่มแทง ปวดใน
                                        แนนที่ขมับ                                    ทันทีทันใด  เจ็บปวดอยางรุนแรง

                     เวลาที่เริ่มเกิด   ตอนบายหรือตอนเย็น     ตอนเชาตรูและวันหยุดสุด  หลังจากที่เริ่มนอนหลับและเวลา
                                                               สัปดาห                 กลางวัน

                     รูปแบบและ          คอยๆเริ่มปวด หลายชั่วโมง ปวดอยางทันทีทันใดหรือ   ปวดอยางทันทีทันใด 20 นาที ถึง 2
                     ระยะเวลาของการ     หลายวัน  หรือหลาย      คอยเปนคอยไป เปนชั่วโมง   ชั่วโมง
                     ปวด                สัปดาห                หรือ 1-2 วัน

                     ปจจัยที่เรงเพิ่มความ  ความเครียด         ความเครียด,  การมีประจํา    แอลกอฮอล การนอน(REM
                     รุนแรงในการเกิด                           เดือน,  แอลกอฮอล, อาหาร  Sleep)

                                                               การเปลี่ยนแปลงของอากาศ
                     อาการหรือสัญญาณ    หนังศีรษะหรือกลามเนื้อคอ คลื่นไส  อาเจียน  สนองตอ  น้ําตาไหล คัดจมูก และ หายใจไม

                     ที่เกี่ยวของ      ที่ถูกกระตุนไดงาย   การเรางายหนังศีรษะออนนุม  ออก

                     ลักษณะบุคลิกภาพ    ชอบแขงขัน             ชอบสมบูรณแบบ           -

                     อายุที่เริ่มเกิด   วัยรุนและผูใหญตอนตน   เริ่มเขาวัยรุนจนถึงระยะหมด  20 – 50  ป

                                                               ประจําเดือน
                     ที่มา : Sarason & Sarason,1999. p 160.



                            4. Cancer (มะเร็ง)
                            มีรายงานวา ประสบการณชีวิตที่กอใหเกิดความเครียดโดยเฉพาะอยางยิ่ง การพลัดพรากจาก

                     กัน (separation) และการสูญเสีย (loss)  มักนํามากอนการเกิดเนื้องอกชนิดตางๆ  เชน  มะเร็งปาก

                     มดลูก (cancer  of the cervix),Leukemia, Lymphomia   ซึ่งอาจเปนไปไดวาเปนปจจัยทางจิตใจมี
                     อิทธิพลตอกลไกทางภูมิคุมกันวิทยา  (immunological  mechanism) โดยกอใหเกิดความโนมเอียงใน

                     การเกิด และการดําเนินโรคของเนื้องอกบางชนิด

                            ไดมีการศึกษาความสัมพันธระหวางโรคซึมเศรากับโรคมะเร็ง   พบวาผูที่มีอาการซึมเศราจะมี

                     โอกาสเปนมะเร็งสูงกวา  รวมทั้งมีอัตราการเสียชีวิตดวยโรคมะเร็งสูงกวาคนปกติ  2 เทา ในการศึกษา
                     ผูปวยที่เปนโรคมะเร็งเตานมซึ่งมีจิตใจมุงมั่นที่จะต อสูกับโรคราย และใชกลไกปองกันตัวเองชนิด

                     ปฏิเสธและไมยอมรับความเปนจริง  (denial)  จะมีอัตราการรอดชีวิตสูงเมื่อเทียบกับผูปวยซึ่งยอมรับ

                     ความเจ็บปวย  หรือรูสึกสิ้นหวังไมชวยตนเอง
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55