Page 46 -
P. 46

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                           43



                            1.  ระดับ cholesterol สูง

                            2.  เปนโรคความดันโลหิตสูง
                            3.  สูบบุหรี่



                            ความซึมเศรากับโรคหัวใจขาดเลือด  : พบวาประมาณ 1 ใน 3 ของผูปวยโรคหัวใจขาดเลือดมี

                     อาการทางจิตเวชโดยเฉพาะอาการซึมเศรา  พบวาอาการซึมเศราเ ปนปจจัยเสี่ยงที่สําคัญในโรคหัวใจ

                     ขาดเลือด  โดยมีผลตอการเริ่มเปนโรค และการดําเนินโรค
                            อาการซึมเศรามีผลตอหัวใจดังนี้

                            1.  อัตราการเตนของหัวใจผิดปกติ

                            2.  มีความผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติ

                            3.  ทําใหหัวใจเตนไมสม่ําเสมอ

                            4.  มีความผิดปกติของการจับกลุมของเกล็ดเลือด (platelet  aggregation)
                            5.  ผูปวยขาดการออกกําลังกาย และมีคุณภาพชีวิตที่ไมดี

                            6.  มีอาการทางกายรุนแรงโดยเฉพาะอาการปวด

                            7.  ขาดแรงจูงใจ และความรวมมือในการรักษา

                            8.  ความสามารถในการทํางานอาชีพลดลง


                            ความเครียดและโรคหัวใจขาดเลือด : ความเครียดมีผลตอระบบประสาท  ระบบภูมิคุมกันและ

                     ตอมไรทอ สงผลใหมีการเปลี่ยนแปลงของอัตรา การเตนของหัวใจ  ความดันโลหิต  การทํางานของ
                     ตอมไฮโปทาลามัส และตอมพิทิวอิทารี และกระบวนการทางสรีระวิทยา  ความผิดปกติของระบบ

                     ประสาท sympathetic  เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหโรคหลอดเลือดหัวใจเปนรุนแรงขึ้น  โดยมีการเพิ่ม

                     ระดับ plasma   catecholamine   ซึ่งจะเรงใหเกิดคราบ  (plague)  หรือทําลาย endotheliums   ของ

                     หลอดเลือดแดง  นอกจากนี้สภาวะไมสมดุลของระบบประสาท  sympathetic  และ parasympathetic
                     ซึ่งเปนผลมาจากความเครียด  อาจทําใหเกิดภาวะหัวใจเตนไมสม่ําเสมอ (arrhythmias) และเสียชีวิตได

                            พบวาความเครียดกดระบบภูมิคุมกัน  นอกจากนี้สถานการณซึ่งทําใหจิตใจอยูในสภาวะตึง

                     เครียดตลอดเวลา  เชน ความเปนอยูแออัด  อยูอยางโดดเดี่ยว และถูกทรมานจะมีความสัมพันธกับโรค

                     ความดันโลหิตสูง  โรคหัวใจขาดเลือด โรคแผลในกระเพาะอาหาร  รวมทั้งทําใหภูมิตานทาน  ตอเชื้อ

                     ไวรัส  และเซลลมะเร็งลดลง
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51