Page 43 -
P. 43

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                           40



                     ความสนใจ ตองการใหมีการตรวจ  หรือรักษาอยางจริงจัง  หากแพทยตรวจไมพบอะไรก็จะไมพอใจ

                     เมื่อแพทยมีทาทีสงสัยวาผูปวยแกลงทํา   ผูปวยก็จะไมสมัครใจอยูตอ และอาจไปอยูโรงพยาบาลอื่น
                     ดวยอาการเดียวกันอีก

                            2. Factitious disorder with predominantly  psychological signs and  symptoms  ผูปวย

                     แสรงแสดงอาการหรือแจงประวัติเท็จในดานของโรคทางจิตเวช  เชน  หูแวว  ซึมเศรา  สับสน  หรือ มี

                     พฤติกรรมแปลกแมรักษาเต็มที่แลว ยังคงมีอาการอยู

                            ลักษณะของผูปวยที่พบไดเหมือนผูปวยที่มาดวยอาการทางกาย  ไดแก  การเลาประวัติจะดูมี
                     สีสันเหมือนในนวนิยาย  ผูปวยอาจเลาประวัติตนเองวาเปนคนสําคัญ เปนคนเกง  บางครั้งฟงไมนาจะ

                     เปนไปไดหรือขัดแยงกันเอง  ผูปวยบางคนคลองในกระบวนการทางการแพทยหรือใชศัพทแพทยไดดี


                            สาเหตุ

                            ผูปวยมักมีประวัติเคยปวยหนักตอนเด็ก  ถูกพอแมทารุณกรรมหรือละเลย อาจเปนบุคลากร

                     ทางการแพทย  ใกลชิดกับแพทย  หรือเคยมีปญหากับบุคลากรทางแพทยในอดีต  การปวยทําใหไดอยู
                     โรงพยาบาลไดรับการดูแลอยางใกลชิด  ซึ่งเปนการตอบสนองความตองการลึกๆของผูปวย



                            การดําเนินโรค
                            มักเริ่มวัยผูใหญตอนตน สวนใหญเปนหลังการอยูโรงพยาบาลจากความเจ็บปวย  โรคนี้มักจะ

                     เรื้อรัง
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48