Page 40 -
P. 40

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                           37



                            ผูปวยอาจคอยสองกระจกสังเกตความผิดรูปรางนี้บอยๆ แตผูปวยบางรายอาจพยายาม

                     หลีกเลี่ยงการเห็นภาพตนเองในกระจก หรือวัตถุที่สะทอนภาพได  บางรายเขาปรึกษาแพทยทาง
                     ศัลยกรรมตกแตงเพื่อแกไขความผิดรูปรางที่ตนกังวลนั้น

                            อาการบางชวงเปนมาก  บางชวงนอย และเรื้อรังถาไมไดรับการรักษา  ผูปวยประมาณ  1 ใน 3

                     จะอยูแตในบานไมยอมออกไปไหนเพราะอายคน  และผูปวยประมาณ 1 ใน 5พยายามฆาตัวตาย



                            การวินิจฉัย
                            1.  ครุนคิดเปนกังวลวาสวนของรางกายของตนผิดรูปรางไปโดยไ มเปนจริงหรือกังวลมากเกิน

                                เหตุ

                            2.  ทําใหเกิดความทุกขทรมานหรือไมสามารถดํารงชีวิตไดอยางปกติ
                            3.  ไมไดเกิดจากโรคจิตเวชอื่นๆ



                            สาเหตุ
                            • ปจจัยดานจิตใจ  :  ในทาง Psychodynamic มองวา Body  Dysmorphic  Disorder  เกิด

                     จากการ displace  ความขัดแยงทางอารมณหรือเพศไปยังส วนอื่นๆของรางกาย  โดยใชกลไกทางจิต

                     คือ repression, dissociation, distortion, symbolizationและ projection    และบุคลิกภาพเดิมของ

                     ผูปวยมักเปนแบบ narcissistic, obsessive และ schizoid    สวนปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมที่ให

                     คานิยมกับความสวยงามแบบใดแบบหนึ่งก็อาจเกี่ยวของ
                            • ปจจัยดานชีวภาพ   :   จากการที่พบโรคซึมเศรารวมดวยมากทั้งในผูปวยเองและญาติๆ

                     รวมกับมีรายงานวายาออกฤทธิ์กับ  serotonin  ชวยลดอาการของผูปวยได  ทําใหเชื่อ  วา serotonin มี

                     สวนเกี่ยวของบางอยาง


                            5. Hypochondriasis

                            ลักษณะทางคลินิก
                            ผูปวยมีอาการครุนคิดกังวลวา ตนเองจะปวยเปนโรคที่รายแรงบางอยาง  แมวาจะตรวจไมพบ

                     สิ่งผิดปกติของผูปวย ก็ยังคงกังวล  สวนของรางกายที่ผูปวยกังวลบอยที่สุด คือ ศีรษะและคอ

                     รองลงมา ไดแก ทอง และหนาอก    อาการมักเปนพักๆแตละครั้งจะอยูเปนเดือนหรือเปน  ป แลวก็

                     หายไป  การเปนใหมแตละครั้งมักสัมพันธกับการมีเหตุการณที่ทําใหเกิดความเครียด


                            การวินิจฉัย

                            1.  ครุนคิดกังวลกลัววาตนจะปวยเปนโรครายแรงโดยมีรากฐานมาจากการแปลอาการทางกายผิด

                            2.  แมจะมีการตรวจอยางถูกตองแลววาไมพบโรคอะไร ผูปวยก็ยังคงไมหายกังวล
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45