Page 88 -
P. 88
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การศึกษาศักยภาพของไรโซเบียมที่แยกได้จากพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณลุ่มน้ำปาย
Study on Potential of Rhizobium Isolated from Areas
Effected by Climate Chang in Pai River Basin
จิตรา เกาะแก้ว มนต์ชัย มนัสสิลา อมรรัตน์ ใจยะเสน อำนาจ เอี่ยมวิจารณ์
Jitra Kokaew Monchai Manassila Amornrat Chaiyasen Amnat Eamvijarn
กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ABSTRACT
The result of study on potential of rhizobium isolated from areas effected by climate change in
Pai river basin. Thirty isolates of Rhizobium were selected to test for nitrogen fixation with vegetable
soybean. Three isolates such as DASA19001, DASA19014 and DASA19016 are highest effective on
nitrogen fixation. A Completely Randomized Design (CRD) with three replications of 7 treatments was
applied in experiment in pots at Soil Microbiology Research group, Department of Agriculture. The
treatments included: 1) Rhizobium isolate DASA32019, 2) Rhizobium isolate DASA32025, 3) Rhizobium
isolate DASA32116, 4) Rhizobium biofertilizer for Soybean from Department of Agriculture (DOA), 5)
Rhizobium isolate DASA32019+ DASA32025+ DASA32116, 6) No rhizobium inoculation and 7) chemical
fertilizer (N-P-K) according to soil analysis without rhizobium biofertilizer. The results showed that the
treatment 3 had highest in number of node fresh weight and dry weigh of node. Treatment 2 has highest
root fresh and dry weight and has high significant compare to treatment 5 and 7. Treatment 3 has
highest in fresh and dry matter and high significant different compare to treatment 7. Nitrogen fixation
value in treatment 7 has high fixation value followed by treatment 4 and 3, respectively. While
treatment 1, 2 and 6 has low nitrogen fixation value and significantly different compare to treatment 7.
Yield components value in pot trial showed that number of pod, total number of seed, seed weight
and 100 seed weight were not significant different in all treatments. When mix 3 varieties and use
showed better yield than bio-fertilizer for soybean form DOA.
Key words : Pai river basin, Rhizobium, climate change
บทคัดย่อ
ผลการศึกษาศักยภาพของไรโซเบียมที่แยกได้จากพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
บริเวณลุ่มน้ำปาย โดยคัดเลือกไรโซเบียม 30 สายพันธุ์ พบ Bradyrhizobium spp. ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการ
ตรึงไนโตรเจนให้กับต้นถั่วสูงที่สุด 3 สายพันธุ์ได้แก่ DASA32019 DASA32025 และ DASA32116 นำมาผลิตเป็นปุ๋ย
ชีวภาพไรโซเบียมสำหรับใช้ในการทดลองครั้งนี้ การทดลองในกระถางวางแผนการทดลองแบบ CRD มี 3 ซ้ำ 7 กรรมวิธี
คือ 1) ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม สายพันธุ์ DASA32019 2) ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม สายพันธุ์ DASA32025 3) ใส่ปุ๋ย
ชีวภาพไรโซเบียม สายพันธุ์ DASA32116 4) ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมสำหรับถั่วเป้าหมาย 5) ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมผสม
สายพันธุ์ DASA32019+ DASA32025+ DASA32116 6) ไม่ใส่เชื้อไรโซเบียม และ 7) ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน
ทำการทดลองที่กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน กรมวิชาการเกษตร ผลการทดลองในกระถางพบว่ากรรมวิธีที่ 3 มีจำนวนปม
น้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งปม มากที่สุด กรรมวิธีที่ 2 มีน้ำหนักสดราก น้ำหนักแห้งราก มากที่สุดและมีความแตกต่างจาก
80