Page 103 -
P. 103
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 32 ประมาณมูลค่าของข้าวหอมที่เปลี่ยนแปลงไป เมื่อมีคุณลักษณะมีรสหวาน มีกลิ่นหอม มีการระบุ
แหล่งก าเนิด มีตรารับรองมาตรฐาน
คุณลักษณะ มูลค่า ราคา ร้อยละมูลค่า
(RMB/ถุง 5 กก.) เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง
ข้าวหอมทางเลือกฐาน - 60 -
(ไม่หวาน, ไม่หอม, ไม่ระบุแหล่งก าเนิด, ไม่มีตรารับรอง)
กรณี มีรสหวาน มีกลิ่นหอม, มีตรารับรองมาตรฐาน, 138.74 198.74 231.23
ไม่ระบุแหล่งก าเนิด
กรณี มีรสหวาน มีกลิ่นหอม, มีตรารับรองมาตรฐาน 211.53 271.53 352.55
ระบุแหล่งก าเนิด- จีน
กรณี มีรสหวาน มีกลิ่นหอม, มีตรารับรองมาตรฐาน 226.20 286.20 377.00
ระบุแหล่งก าเนิด- กัมพูชา
กรณี มีรสหวาน มีกลิ่นหอม, มีตรารับรองมาตรฐาน 212.44 272.44 354.06
ระบุแหล่งก าเนิด- เวียดนาม
กรณี มีรสหวาน มีกลิ่นหอม, มีตรารับรองมาตรฐาน 279.39 339.39 465.65
ระบุแหล่งก าเนิด- ไทย
ที่มา: จากการส ารวจ 2562
4.7 พฤติกรรมการสับเปลี่ยนตราสินค้าและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสับเปลี่ยนตราสินค้า
การศึกษาพฤติกรรมการซื้อข้าวตราสินค้าที่ผู้บริโภคซื้อเป็นประจ า น าเสนอในตารางที่ 33 พบว่า
ผู้บริโภคซื้อข้าวมาบริโภคเป็นประจ าเนื่องจากชอบในรสชาติของข้าว (ค่าเฉลี่ย 4.19) เนื่องจากข้าวที่ซื้อนั้น
ตรงตามความคาดหวัง (ค่าเฉลี่ย 4.07) คิดว่าข้าวที่ซื้อเป็นประจ านี้ดีกว่าข้าวตราสินค้าอื่น (ค่าเฉลี่ย 4.06) จะ
ซื้อข้าวที่ซื้อเป็นประจ านี้เป็นตัวเลือกแรก (ค่าเฉลี่ย 3.81) ชี้ให้เห็นว่าผู้บริโภคเชื่อมั่นว่าผู้ผลิตข้าวมีความกังวล
เกี่ยวกับสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภคในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.71) ทั้งยังให้ความส าคัญกับ
สถานภาพทางสังคม เลือกซื้อเพราะเพื่อนหรือครอบครัวเลือกซื้อข้าวนี้ (ค่าเฉลี่ย 3.68) ผู้บริโภคมีความยึดติด
ในข้าวที่ซื้อเป็นประจ า (ค่าเฉลี่ย 3.48) และผู้บริโภคจะเปลี่ยนไปซื้อข้าวตราสินค้าอื่นในครั้งหน้า (ค่าเฉลี่ย
2.32) บ่งชี้ได้ว่าผู้บริโภคมีความยึดติดในข้าวที่ซื้อเป็นประจ า และมีโอกาสที่จะเปลี่ยนไปซื้อข้าวตราสินค้าอื่น
น้อยมาก
86