Page 18 -
P. 18

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 16                        Thai J. For. 35 (1) : 11-23 (2016)




                        3. ดัชนีความคล้ายคลึง (Similarity index;      5. การวิเคราะห์การจัดล�าดับชั้น (ordination
                 SI) ระหว่างสังคมพืชในแต่ละแนวเขตจากป่าธรรมชาติถึง  analysis) เพื่อหาปัจจัยสิ่งแวดล้อมบางประการ (เปอร์เซ็นต์
                 พื้นที่สวนป่า ใช้การค�านวณจากสูตรของ Sorensen   การปกคลุมของเรือนยอด ความหนาแน่นรวมของดิน
                 (Sorensen, 1948) ดังนี้                     และความชื้นดิน) ที่ก�าหนดการปรากฏของพันธุ์พืชใน

                        ISs =   2W  × 100                    สองระดับคือ ไม้รุ่น (sapling) คือไม้ที่มีขนาด DBH
                              A+B                            อยู่ระหว่าง 1-4.5 เซนติเมตร และไม้ใหญ่ (tree) คือ
                 เมื่อ   ISs =  ดัชนีความคล้ายคลึงของ Sorensen  ไม้ที่มีขนาด DBH มากกว่า 4.5 เซนติเมตร ด้วยวิธีการ
                        W  =  จ�านวนชนิดที่ปรากฏทั้งในสังคม A   Canonical correspondence analysis (CCA) โดยใช้
                              และ B                          โปรแกรมส�าเร็จรูป PC-ORD version 6.08 (McCune.
                        A  =  จ�านวนชนิดที่ปรากฏทั้งหมดในสังคม A  and Mefford, 2011)

                        B  =  จ�านวนชนิดที่ปรากฏทั้งหมดในสังคม B
                                                                     6. ทดสอบความแตกต่างทางสถิติของปัจจัย
                        4. ความชื้นดินและความหนาแน่นรวมของ   แวดล้อม ในแต่ละเขตพื้นที่ ด้วยการวิเคราะห์ความ
                 ดิน วิเคราะห์โดยการน�าตัวอย่างดินไปอบที่อุณหภูมิ   แปรปรวน (ANOVA) ด้วยโปรแกรมส�าเร็จรูปทางสถิติ
                 105 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 48 ชั่วโมง จากนั้นค�านวณ
                 หาเปอร์เซ็นต์ความชื้นของดิน (soil moisture content)     ผลและวิจำรณ์
                 และความหนาแน่นรวมของดิน (soil bulk density, Db)   1. โครงสร้ำงป่ำและองค์ประกอบพรรณพืช
                 ดังนี้ (Panichsuay, 2012)                           ผลการศึกษา มีจ�านวนต้นไม้ในแปลงทั้งหมด

                        ความชื้นของดินโดยน�้าหนัก (%)        เท่ากับ 2,582 ต้น พบชนิดพรรณไม้ทั้งหมด 44 วงศ์

                            =     น�้าหนักเปียก - น�้าหนักแห้ง  (families) 106 สกุล (genera) 139 ชนิด (species) ความ
                                    น�้าหนักแห้ง             หนาแน่นและพื้นที่หน้าตัดไม้ เท่ากับ 4,304 ต้นต่อ
                        ความหนาแน่นรวมของดิน (Db)            เฮกแตร์ และ 26.50 ตารางเมตรต่อเฮกแตร์ ตามล�าดับ
                               Wb                            โดยวงศ์ที่มีจ�านวนชนิดพรรณไม้มากที่สุด คือ วงศ์เปล้า
                            =
                               Vb                            (Euphorbiaceae) มีจ�านวน 18 ชนิด รองลงมาได้แก่ วงศ์
                 เมื่อ   Db  =  ความหนาแน่นรวมของดิน (กรัมต่อ  น้อยหน่า (Anonaceae) วงศ์มะเกลือ (Ebenaceae) วงศ์เข็ม

                              ลูกบาศก์เซนติเมตร)             (Rubiaceae) และวงศ์ถั่ว (Fabaceae) มีจ�านวน 10, 9, 8
                        Wb  =  น�้าหนักแห้งของดิน (กรัม)     และ 7 ชนิด ตามล�าดับ (Figure 2) เมื่อพิจารณาชนิด
                        Vb  =  ปริมาตรของดิน (ลูกบาศก์เซนติเมตร)  พรรณไม้ตามเขตการกระจาย มีรายละเอียด ดังนี้
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23