Page 21 -
P. 21

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 35 (1) : 11-23 (2559)                     19
                                                         ์



                        3) กลุ่มหมู่ไม้ที่สามารถกระจายได้ทั่วไป   (Carallia brachiata, Cara) มะห้า (Syzygium oblatum,
                เมื่อปัจจัยแวดล้อมอยู่ในช่วงที่มีความเหมาะสมคือไม่สูง  Syzy) สังกะโต้ง (Aglaia andamanica, Agla2) และ
                หรือต�่ามากเกินไป พบในหมู่ไม้เขตขอบป่าด้านใน (ST4   ล�าดวน (Melodorum fruticosum, Melo) นอกจากนั้น
                และ ST5) ขอบป่าตอนกลาง (ST9) และ ขอบป่าด้านนอก   ยังพบพรรณไม้เบิกน�าอีกหลายชนิด เช่น มะเดื่อปล้อง
                (ST11 และ ST12 ) ส่วนใหญ่เป็นพรรณไม้ท้องถิ่นใน  (Ficus hispida, Ficus1) มะเดื่อล�าโพงกา (Ficus lamponga,

                ป่าดิบแล้ง คือ มะไฟป่า (Baccaurea brevipes, Bacc)   Ficus2) ปอหูช้าง (Hibiscus macrophyllus, Hibi) แคหัวหมู
                แหลบุก (Phoebe lanceolata, Phoe) เฉียงพร้านางแอ   (Markhamia stipulata, Mark) เป็นต้น

































                Figure 3 The determinant environmental factors on tree distribution. Abbreviates represented
                         founded tree  species (see in  Appendix 1). SMC, SDb and CCO represented  soil
                         moisture content, soil bulk density and canopy openness, respectively. Black triangles
                         (  ) indicated the zonation of transect permanent plots.

                        ผลการศึกษาท�าให้ทราบว่า ปัจจัยแวดล้อมทาง  การสัมผัสรังสีจากดวงอาทิตย์โดยตรงท�าให้การระเหย
                กายภาพเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อการปรากฏของพันธุ์ไม้   ของน�้าในดินมีไม่มากส่งผลให้ดินในเขตป่าดิบแล้งจึง

                โดย กลุ่มหมู่ไม้ที่ 1 เป็นกลุ่มพันธุ์ไม้หลักในป่าดิบแล้ง  มีความชื้นสูงและเหมาะสมต่อการตั้งตัวของกล้าไม้
                ซึ่งต้องอาศัยความชื้นดินค่อนข้างสูงในการตั้งตัว สอดคล้อง  (Niamrat and Marod, 2005; Kapos et al., 1997) ส่วน
                กับ Kutintara (1999) ที่รายงานว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ  กลุ่มหมู่ไม้ที่ 2 จัดเป็นกลุ่มพันธุ์ไม้ป่าผสมผลัดใบที่มี

                การตั้งตัวของกล้าไม้โดยตรง ได้แก่ ปริมาณแสงสว่าง   ปัจจัยความหนาแน่นรวมของดิน และการปกคลุมของ
                ความชื้นดิน และความหนาแน่นของดิน การที่ป่าดิบแล้ง  ชั้นเรือนยอดต้นไม้เป็นตัวก�าหนดการปรากฏของพันธุ์ไม้
                มีการปกคลุมของเรือนยอดที่แน่นทึบท�าให้สามารถลด  ในกลุ่มนี้ พบกระจายบริเวณเขตขอบป่าตอนกลาง และ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26