Page 16 -
P. 16
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
14 Thai J. For. 35 (1) : 11-23 (2016)
ไม่เหมาะสมต่อการตั้งตัวของไม้เบิกน�าท�าให้มีอัตราการ ปอหูช้าง และ แคหัวหมู ทรัพยากรสัตว์ป่า ได้แก่ ช้างป่า
ตายเพิ่มขึ้นและถูกแทนที่ด้วยไม้ดั้งเดิมและสามารถฟื้น เลียงผา เสือไฟ กระทิง หมูป่า กวางป่า หมาใน ไก่ฟ้า
ตัวกลับใกล้เคียงป่าดั้งเดิม (Asanok et al., 2012; Marod พญาลอ นกกก นกแก๊ก นกโกโรโกโส และนกกางเขนดง
et al., 2012a and 2012b) อย่างไรก็ตามการศึกษาเกี่ยวกับ
การทดแทนตามธรรมชาติของพันธุ์ไม้ป่าดิบแล้งที่รุกล�้า กำรเก็บข้อมูล
เข้าไปยังพื้นที่สวนป่าสักในประเทศไทยยังมีรายงาน 1. ก�าหนดพื้นที่ศึกษาภายในพื้นที่ศูนย์ศึกษา
อยู่ไม่มากนัก ธรรมชาติและท่องเที่ยวเชิงนิเวศเจ็ดคด – โป่งก้อนเส้า
ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้คือ อ�าเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี บริเวณสวนป่าสักฟื้นฟู
1) เพื่อศึกษาโครงสร้างป่าและองค์ประกอบพรรณพืช ที่มีพื้นที่ติดอยู่กับป่าป่าดิบแล้งตามธรรมชาติ จากนั้น
ภายหลังการปลูกป่าสักฟื้นฟู และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัย ท�าการก�าหนดแนวขอบป่าโดยมีหลักเกณฑ์ คือ แนว
แวดล้อมบางประการที่มีผลต่อการปรากฏของพรรณไม้ ขอบป่าต้องมีลักษณะเป็นแนวยาวพาดขวางอยู่ระหว่าง
ผลการศึกษาที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการประยุกต์ สังคมพืช มีโครงสร้างป่าที่แตกต่างระหว่างสองชนิด
สร้างแผนการจัดการฟื้นฟูพื้นที่สวนป่าให้คืนกลับเป็น สังคมพืชโดยเฉพาะการปรากฏชนิดของพันธุ์พืชที่มักมี
ป่าธรรมชาติดั้งเดิมในภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศต่อไป
ชนิดพันธุ์ไม้เบิกน�า ไม้เถาหรือไม้พุ่มรอเลื้อย ขึ้นอยู่อย่าง
หนาแน่นสามารถใช้เป็นแนวแบ่งแยกระหว่างสังคมพืช
อุปกรณ์และวิธีกำร ได้อย่างชัดเจน บริเวณพื้นที่ดังกล่าวถูกก�าหนดให้เป็น
พื้นที่ศึกษำ แนวขอบป่าของการศึกษาครั้งนี้
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 2. วางแปลงถาวรแบบแถบ (permanent transect
เจ็ดคด-โป่งก้อนเส้า ต�าบลท่ามะปราง อ�าเภอแก่งคอย plot) ขนาด 10 × 200 เมตร บริเวณแนวขอบป่าระหว่าง
จังหวัดสระบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 13,750 ไร่ ลักษณะ ป่าดิบแล้ง (remnant dry evergreen forest) และสวน
ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาสลับซับซ้อน มีความสูง ป่าสัก จ�านวน 3 แปลงถาวร แต่ละแปลงมีระยะห่างกัน
จากระดับทะเลปานกลาง ตั้งแต่ 200-700 เมตร ลักษณะ 100 เมตร โดยก�าหนดให้แนวขอบป่าเป็นจุดเริ่มต้น
ภูมิอากาศ มีอุณหภูมิสูงสุดประมาณ 36 องศาเซลเซียส (ระยะ 0 เมตร) จากนั้นวางแปลงเข้าไปในป่าดิบแล้ง
อุณหภูมิต�่าสุดประมาณ 18 องศาเซลเซียส ปริมาณ เป็นระยะทาง 50 เมตร และลึกเข้าไปในสวนป่าสักเป็น
น�้าฝนเฉลี่ยรายปีอยู่ระหว่าง 1,200-1,500 มิลลิเมตร ระยะทาง 150 เมตร ภายแปลงในสวนป่าสักท�าการแบ่ง
ทรัพยากรป่าไม้ ประกอบด้วย 1) ป่าผสมผลัดใบ (mixed ขอบเขตแปลงเป็น 3 เขต คือ เขตขอบป่าด้านใน (edged
deciduous forest) พันธุ์ไม้เด่น ได้แก่ ประดู่ป่า และ
มะค่าโมง 2) ป่าดงดิบชื้น (moist evergreen forest) พันธุ์ไม้ interior) เขตขอบป่าตรงกลาง (edged middle) และเขต
เด่น ได้แก่ ยางปาย ยางเสียน และ กระบาก 3) ป่าดงดิบ ขอบป่าด้านนอก (edged exterior) มีระยะทางจากจาก
แล้ง (dry evergreen forest) พันธุ์ไม้เด่น ได้แก่ ยางแดง ขอบป่าเข้าสู่สวนป่าสักแต่ละเขต คือ 0 - 50, 50 - 100
ยางนา เคี่ยมคะนอง ตาเสือ ปออีเก้ง และคอแลน 4) สวนป่า และ 100 - 150 เมตร ตามล�าดับ สร้างแปลงย่อยขนาด 10
(forest plantation) พันธุ์ไม้เด่น ได้แก่ สัก และประดู่ป่า × 10 เมตร (รวมจ�านวนแปลงย่อยทั้งหมด 60 แปลง) เพื่อ
5) ป่ารุ่น (secondary forest) พันธุ์ไม้เด่น ได้แก่ ซ้อ ส�ารวจโครงสร้างและองค์ประกอบพรรณไม้ (Figure 1)