Page 15 -
P. 15
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 35 (1) : 11-23 (2559) 13
์
ค�ำน�ำ การฟื้นฟูป่าในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์หลัก
สองประการ คือ ฟื้นฟูป่าเพื่อให้กลับคืนเป็นป่าธรรมชาติ
ทรัพยากรป่าไม้จัดเป็นทรัพยากรที่สามารถ ดั้งเดิม และฟื้นฟูป่าเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ จาก
ทดแทนด้วยตัวเองได้ (renewable resource) สามารถ ภารกิจดังกล่าว ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและท่องเที่ยวเชิง
อ�านวยประโยชน์ต่อการด�ารงชีวิตของมนุษย์ในหลายๆ นิเวศเจ็ดคด – โป่งก้อนเส้า อ�าเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
ด้าน นอกจากนั้นยังมีบทบาทส�าคัญต่อการรักษาสมดุล ได้มีการฟื้นฟูพื้นที่ป่าดิบแล้งเสื่อมโทรม (degraded dry
ของระบบนิเวศทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก อย่างไร evergreen forest) เมื่อปี พ.ศ. 2520 ด้วยการปลูกสร้าง
ก็ตามผลของการรบกวนทั้งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและ สวนป่า (plantation) แล้วปล่อยให้มีการทดแทนตาม
กิจกรรมของมนุษย์ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้าน ธรรมชาติ ด้วยการปลูกพันธุ์ไม้ท้องถิ่น (native species)
โครงสร้างป่าและองค์ประกอบพรรณพืช (forest structure คือ ประดู่ป่า (Pterocarpus macrocarpus Kurz.) และ
and species composition) อยู่ตลอดเวลา การสูญเสีย ปลูกไม้เศรษฐกิจซึ่งไม่ใช่พันธุ์ไม้ดั้งเดิมของพื้นที่ คือ
พื้นที่ป่าไม้ (deforestation) อันเนื่องจากการเปลี่ยนพื้นที่ สัก (Tectona grandis L.f.) โดยบริเวณพื้นที่สวนป่าสัก
ป่าเพื่อการใช้ประโยชน์ด้านเกษตรกรรมนั้นส่งผลกระทบ ฟื้นฟูมีแนวขอบป่าติดอยู่กับพื้นที่ป่าดิบแล้งธรรมชาติ
ที่ค่อนข้างรุนแรงต่อการสูญเสียความหลากหลายทาง เดิมจึงอาจเปิดโอกาสให้ชนิดพันธุ์ไม้ท้องถิ่น สามารถ
ชีวภาพทั้งพรรณพืชและสัตว์ป่า อย่างไรก็ตามพื้นที่ กระจายพันธุ์เข้ามาตั้งตัว (establishment) ในพื้นที่บริเวณ
ดังกล่าวหากปล่อยทิ้งร้างไว้ก็จะเกิดการทดแทนของ แนวขอบป่าและพื้นที่สวนป่าได้ มีผลให้เกิดการปรากฏ
สังคมพืชตามธรรมชาติได้ในระดับหนึ่งขึ้นอยู่กับความ ร่วมกันของชนิดพันธุ์ไม้ในสวนป่ามากขึ้นและช่วยท�าให้
รุนแรงและความถี่ในการบุกรุกท�าลายพื้นที่ป่าดั้งเดิม การฟื้นตัวของสวนป่าสักกลับคืนสู่สภาพป่าธรรมชาติ
การทดแทนของสังคมพืชมักเริ่มจากกลุ่มของพันธุ์ไม้ เกิดได้เร็วขึ้น อย่างไรก็ตาม องค์ประกอบความหลาก
เบิกน�า (pioneer species) เข้ามาในช่วงแรกๆ และมีการ ชนิดพันธุ์ไม้บริเวณแนวขอบป่าขึ้นอยู่กับระยะห่างของ
ปรับเปลี่ยนปัจจัยแวดล้อมให้มีความเหมาะสมต่อการ พื้นที่สวนป่ากับพื้นที่ป่าธรรมชาติ (Asanok et al., 2012;
ตั้งตัวของพรรณไม้ท้องถิ่น (native species) เพิ่มมากขึ้น Marod et al., 2012a and 2012b) รวมถึงความสามารถใน
จนกระทั่งสังคมพืชมีการทดแทนเข้าสู่สภาวะที่มีความ การกระจายของเมล็ดไม้ (Parrotta et al., 1997) บริเวณ
สมดุลด้านโครงสร้างและองค์ประกอบพันธุ์พืช หรือที่ แนวขอบป่า (forest edged) มักพบพรรณไม้พุ่มทนร่ม
เรียกว่า สภาวะสังคมสุดยอด (climax stage) บางพื้นที่ (shade-tolerant shrub) ขึ้นปะปนอยู่ในเรือนยอดชั้นบน
หากถูกรบกวนอย่างรุนแรงและบ่อยครั้ง การตั้งตัวของ (crown canopy) นอกจากนั้นยังมีไม้เบิกน�า และพันธุ์ไม้
พันธุ์ไม้เกิดขึ้นได้ยากต้องใช้ระยะเวลาของการทดแทน ท้องถิ่นขึ้นอยู่ร่วมกันได้ (Marod et al., 2012a; Lovejoy
ยาวนานขึ้น ดังนั้น การฟื้นฟูป่าเพื่อให้กลับฟื้นคืนสู่ป่า et al., 1986) โดยพันธุ์ไม้เบิกน�าที่ปรากฏส่วนใหญ่เป็น
ธรรมชาติ (forest restoration) อาจจ�าเป็นต้องการลดระยะ ไม้เบิกน�าที่กระจายตัวมาจากสังคมพืชพื้นที่ข้างเคียง
เวลาการทดแทนของสังคมพืชลงโดยการปลูกป่าฟื้นฟู (Asanok, 2006) เมื่อพื้นที่แนวขอบชายป่ามีการตั้งตัว
ซึ่งอาจปลูกไม้โตเร็ว (fast growing species) หรือพรรณไม้ ของพรรณพืชมากขึ้นส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ท้องถิ่นโตเร็วเพื่อช่วยปรับสภาพปัจจัยแวดล้อมให้มี อากาศท้องถิ่น โดยเฉพาะความเข้มแสงบริเวณพื้นป่า
ความเหมาะสมต่อการสืบต่อพันธุ์ของป่า (Marod et al., ลดลง และมีความชื้นของอากาศเพิ่มสูงขึ้น (Marod et
2012a; Niamrat and Marod, 2005) al., 2004; William-Liena et al., 1998) ซึ่งเป็นสภาพที่