Page 20 -
P. 20
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
18 Thai J. For. 35 (1) : 11-23 (2016)
(15.32%) มะกายคัด (13.58%) พญารากด�า (11.83%) 2. อิทธิพลของปัจจัยแวดล้อมต่อกำรปรำกฏ
ชิงชัน (11.24%) ส�าเภา (8.47%) กระบก (5.87%) ถ่อน ของพรรณพืช
(5.85%) และ ต่อไส้ (5.76%) ตามล�าดับ (Appendix 1) ผลการศึกษาการจัดล�าดับของหมู่ไม้ในระดับ
และมีดัชนีค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์ตาม Shannon ไม้ใหญ่ตามปัจจัยก�าหนด จากข้อมูลจ�านวน 12 หมู่ไม้
- Weiner เท่ากับ 3.35 (Stand, ST) ตามเขตพื้นที่คือ เขตป่าดิบแล้ง (ST1, ST2
เมื่อพิจารณาความคล้ายคลึงของพรรณไม้ใน และ ST3) เขตป่าด้านใน (ST4, ST5 และ ST6) เขตป่า
พื้นที่ พบว่า พื้นที่สวนป่าสักฟื้นฟูมีระดับไม้ใหญ่ในเขต ตอนกลาง (ST7, ST8 และ ST9) และเขตป่าด้านนอก
ขอบป่าตอนกลาง และตอนนอกมีความคล้ายคลึงกันสูง (ST10, ST11และ ST12) พบว่า ปัจจัยแวดล้อมมีอิทธิพล
(68.35%) และระดับไม้เล็กในเขตขอบป่าตอนในและ ต่อการปรากฏของพันธุ์ไม้สูงมาก (r = 0.97) สามารถ
ตอนนอกมีความคล้ายคลึงกันสูงเช่นกัน (60.61%) ซึ่ง จัดกลุ่มของหมู่ไม้ตามปัจจัยแวดล้อมที่ก�าหนด ได้ 3
แสดงให้เห็นว่า พรรณไม้ท้องถิ่นหลายชนิดมีการ กลุ่ม (Figure 3) ดังนี้
กระจาย และเข้ามาตั้งตัวได้ดีในพื้นที่ที่มีร่มเงาภายใต้ 1) กลุ่มหมู่ไม้ที่มีความชื้นดิน เป็นปัจจัย
เรือนยอดเปิดจนถึงบริเวณที่มีแสงสว่างมาก ประกอบ ก�าหนดหลัก พบในหมู่ไม้จากเขตป่าดิบแล้ง (ST1, ST2
กับดินที่มีความชื้นพอเหมาะที่ไม่สูงเกินไป จึงท�าให้ และ ST3) และหมู่ไม้จากเขตขอบป่าตอนใน (ST6) เป็น
การตั้งตัวของไม้ท้องถิ่นเป็นไปได้อย่างรวดเร็วส่งผล พื้นที่ที่มีความชื้นดินสูง (28.06%) แตกต่างจากเขตพื้นที่
ให้ค่าดัชนีความหลากหลายพรรณพืชเขตขอบป่าตอนใน อื่นๆ อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ((F = 5.86, p < 0.05)
/
มีค่าสูง (H = 3.51) เนื่องจากมีค่าใกล้เคียงกับค่าสูงสุด ประกอบไปด้วยพรรณไม้ในกลุ่มไม่ผลัดใบ เช่น ข่อยหนาม
ของดัชนี Shannon-Weiner ที่ระดับ 5 (Trisurat, 2010) (Strebus taxoides, Stre2) กะหนาย (Pterocymbium
และยังเป็นค่าที่สูงมากกว่าเขตสวนป่าสักฟื้นฟูเขตอื่นๆ littorale, Pter1) แก้วป่า (Murraya paniculata, Murr)
ส่วนเขตป่าดิบแล้งทั้งในระดับไม้ใหญ่และไม้เล็กก็ยังมี มะป่วน (Mitrephora vandaeflora, Mitr) มะเฟืองช้าง
ความคล้ายคลึงกับพื้นที่ขอบป่าตอนใน ตอนกลาง และ (Lepisanthes tetraphylla, Lepi) ดันหมี (Gonocaryum
ตอนนอก ลดหลั่นลงมาตามล�าดับ สอดคล้องกับรายงาน lobbianum, Gono) มะกายคัด (Mallotus philippensis,
ของ Asanok et al. (2012) และ Marod et al. (2012b) ที่ Mall1) และ กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifolia,
รายงานว่า การขึ้นร่วมกันระหว่างชนิดสังคมพืชจากป่า Hydn) เป็นต้น
ธรรมชาติและพื้นที่ถูกบุกรุกพบมากที่บริเวณแนวขอบ 2) กลุ่มหมู่ไม้ที่การปกคลุมของเรือนยอดพืช
ป่า อย่างไรก็ตามพรรณไม้ในเขตป่าดิบแล้งมีค่าดัชนี และความหนาแน่นรวมของดิน เป็นปัจจัยก�าหนดหลัก
ความหลากหลายพรรณพืชของ Shannon-Weiner มีค่าต�่า เป็นกลุ่มหมู่ไม้ที่พบในเขตขอบป่าตอนกลาง (ST7
มากกว่าเขตอื่นๆ นั้น เนื่องจากการขึ้นของพันธุ์ไม้พุ่ม และ ST8) และขอบป่าด้านนอก (ST10) เป็นเขตพื้นที่
ที่มีความหนาแน่นสูงในพื้นที่ อาทิเช่น ข่อยหนาม ที่มีเปอร์เซ็นต์การปกคลุมเรือนยอดพืชต�่า และความ
เป็นต้น ส่งผลให้การงอกและตั้งตัวของพรรณไม้ท้องถิ่น หนาแน่นรวมของดินสูง แตกต่างจากเขตอื่นๆ อย่าง
ของป่าดิบแล้งชนิดอื่นๆ เป็นไปได้ยาก โดยการแก่งแย่ง มีนัยส�าคัญทางสถิติ (F = 19.28, p < 0.01 และ F = 4.68,
ของสังคมพืชเอง (competition) ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อพืชเข้า p < 0.05 ตามล�าดับ) ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มไม้ผลัดใบ เช่น
ยึดครองพื้นที่มีจ�านวนมากเกินไปจนปัจจัยแวดล้อมไม่ โมกมัน (Wrightia arborea, Wrig) พลับพลา (Microcos
เพียงพอต่อความต้องการของพืช ท�าให้พืชบางชนิดมี tomentosa, Micr1) อะราง (Peltophorum dasyrachis, Pelt)
การล้มตายลงหรือบางชนิดสามารถปรับตัวได้จะหลบหลีก ถ่อน (Albizia procera, Albi) และติ้วเกลี้ยง (Cratoxylum
เพื่อคงอยู่ในสังคมนั้นๆ (Clement, 1916) cochinchinense, Crat1) เป็นต้น