Page 22 -
P. 22

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 20                        Thai J. For. 35 (1) : 11-23 (2016)



                 เขตขอบป่าด้านนอกหรือบริเวณพื้นที่สวนป่าสัก เนื่องจาก  139 ชนิด 106 สกุล 44 วงศ์ โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณขอบป่า

                 พื้นที่บริเวณนี้มีเรือนยอดที่เปิดโล่ง ท�าให้มีปริมาณ  หรือแนวรอยต่อป่ามีการสืบต่อพันธุ์ของพรรณไม้ท้องถิ่น
                 แสงสว่างบริเวณพื้นป่าสูง นอกจากนี้ยังเป็นบริเวณ  จากป่าดิบแล้งมาก เช่น พญารากด�า ข่อยหนาม กะหนาย
                 ที่มีการรบกวน เหยียบย�่าจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์   มะเฟืองช้าง มะป่วน กระบก และนวลเสี้ยน เป็นต้น ส่วน
                 สอดคล้องกับรายงานของ Anusontpornperm et al.   พันธุ์ไม้จากป่าผสมผลัดใบที่เข้ามาตั้งตัวและอยู่ร่วมกัน
                 (2012) ที่พบว่าดินในพื้นที่ป่าดิบแล้งที่ผ่านการรบกวน  กับพันธุ์ไม้จากป่าดิบแล้งได้ดี เช่น แคหัวหมู โมกมัน
                 มีความหนาแน่นรวมของดินสูงโดยเพิ่มขึ้นจากดินชั้นบน  และติ้วเกลี้ยง เป็นต้น ปัจจัยแวดล้อม (เปอร์เซ็นต์การ
                 ลงสู่ดินชั้นล่าง (Tangsinmankong, 2004) ท�าให้การ  ปกคลุมของเรือนยอด ความชื้นดิน และความหนาแน่น

                 งอกและตั้งตัวของกล้าไม้หลายชนิดเกิดได้ไม่ดีนัก เมื่อ  ของดิน) เป็นปัจจัยก�าหนดหลักในการปรากฏของไม้ใหญ่
                 เปรียบเทียบกับการตั้งตัวบริเวณที่ดินร่วนซุย (Marod,   (Pearson correlation (species - environment), r =
                 1995) พรรณไม้ที่สามารถตั้งตัวในปัจจัยแวดล้อม  0.97) และพบหมู่ไม้ที่สามารถขึ้นได้ทั่วไปตามช่วงการ
                 เช่นนี้ได้จึงต้องเป็นกลุ่มพืชที่ปรับตัวอยู่ได้ในสภาพ  ลดหลั่นของปัจจัยแวดล้อมทั้ง 3 ปัจจัย บริเวณแนว
                 ที่มีความแห้งแล้ง (drought) เช่น กลุ่มของพรรณไม้  ขอบป่า เช่น กะหนายล�าป้าง พญารากด�า มะเฟืองช้าง

                 ผลัดใบ (Marod et al., 1999, 2002 and 2003) กลุ่มหมู่ไม้  นวลเสี้ยน ส�าเภา มะป่วน มะไฟ มะห้า คอแลน กัดลิ้น
                 ที่ 3 ถือได้ว่าเป็นกลุ่มพรรณไม้ท้องถิ่นที่มีความเหมาะสม  แคหัวหมู โมกมัน ติ้วเกลี้ยง และกระบก เป็นต้น
                 ส�าหรับฟื้นฟูป่าเนื่องจากสามารถปรากฏได้ทั่วไปใน     ดังนั้น การฟื้นฟูป่าด้วยการปลูกพืชท้องถิ่น
                 พื้นที่เพราะมีช่วงความทนทนทางนิเวศวิทยา (amplitude   จึงควรเริ่มฟื้นฟูจากพื้นที่แนวรอยต่อป่าธรรมชาติที่
                 of tolerance) ค่อนข้างสูง สามารถตั้งตัวได้ดีในสภาพ  หลงเหลืออยู่ และควรปลูกพืชที่มีช่วงความทนทานทาง
                 ปัจัยแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงมากจึงพบมาก  ด้านนิเวศวิทยากว้าง โดยเฉพาะสามารถตั้งตัวได้ดีในพื้นที่
                 บริเวณแนวขอบป่าธรรมชาติถึงแนวขอบป่าตอนกลาง   แสงสว่างค่อนข้างมาก และความชื้นในดินต�่า พรรณไม้ที่

                 เช่น กะหนาย ล�าป้าง พญารากด�า มะเฟืองช้าง นวลเสี้ยน   มีความเหมาะสมส�าหรับการน�าไปใช้ในการฟื้นฟูสภาพ
                 ส�าเภา มะป่วน มะไฟ มะห้า คอแลน กัดลิ้น แคหัวหมู   ป่าดิบดิบแล้งเสื่อมโทรม จึงควรใช้กลุ่มพรรณไม้ที่สามารถ
                 โมกมัน ติ้วเกลี้ยง และกระบก เป็นต้น         กระจายได้ทั่วไปตามการลดหลั่นของปัจจัยแวดล้อม
                        ดังนั้น การเริ่มการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรมหากยังคง       ค�ำนิยม
                 มีพื้นที่ป่าธรรมชาติหลงเหลืออยู่ควรเริ่มฟื้นฟูจากแนว

                 ขอบป่าธรรมชาติก็จะช่วยร่นระยะเวลาการฟื้นตัวกลับ     ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติ
                 ของสภาพป่าดั้งเดิมได้เร็วขึ้น (Marod et al., 2014) การ  และท่องเที่ยวเชิงนิเวศเจ็ดคด-โป่งก้อนเส้า จังหวัด
                 ด�าเนินการควรมีการป้องกันการรบกวนจากมนุษย์และไฟป่า  สระบุรี ทุกท่าน ที่ให้การช่วยเหลือและอ�านวยความ
                 ในช่วงระยะแรก เพื่อให้พันธุ์ไม้เหล่านี้สามารถตั้งตัวได้   สะดวกในการเก็บข้อมูลวิจัยครั้งนี้
                 แล้วจึงปล่อยให้มีการสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติต่อไป

                                                                         REFERENCES
                                  สรุป
                                                             Anusontpornperm, S., W. Sonkanha, S. Thanachit,
                        โครงสร้างและองค์ประกอบพรรณพืช บริเวณ         I. Kheoruenromne and T. Artchawakom.

                 พื้นที่ป่าสักฟื้นฟูอายุประมาณ 35 ปี มีแนวทางการทดแทน  2012.  Soil Characteristics under
                 กลับคืนสู่สภาพป่าดั้งเดิมได้ดี พบชนิดพรรณไม้จ�านวน   Various Types of Forest in Sakaerat
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27