Page 27 -
P. 27

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 35 (1) : 24-33 (2559)                     25
                                                         ์


                 Musa acuminata which high abundance was found under gap condition. Frugivores are not only
                 utilize fruit of plants for their living but also help their seed distribution far away from mature
                 plants where supported to their regeneration. Thus, the restoration program with appropriated
                 species, in particular relating to their seed dispersers, can be succeed in the short time period.

                 Keywords: fruit trait, seed disperser, lower montane evergreen forest, Huai Kogma permanent plot

                                                      บทคัดย่อ


                        การศึกษาชนิดของสัตว์ที่เลือกใช้ประโยชน์ผลของพืช 8 ชนิดในพื้นที่ป่าดิบเขาระดับต�่า บริเวณลุ่มน�้า
                 ห้วยคอกม้า อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ – ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ละมุดสีบุนทา (Madhuca floribunda) ก่อเดือย
                 (Castanopsis acuminatissima) พะวา (Garcinia speciosa) มะเดื่อปล้องหิน (Ficus semicordata) มะมือ (Choerospondias
                 axillaris) เหมือดคนตัวผู้ (Helicia nilagirica)  นิ้วมือพระนารายณ์ (Schefflera sp.) และกล้วยป่า (Musa acuminata)

                 ท�าการศึกษาด้วยการติดตั้งกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติในบริเวณที่ติดผลของพืชและบนพื้นบริเวณที่ผลร่วงหล่น โดย
                 ติดตั้งกล้องดักถ่ายภาพทั้งหมด 24 กล้อง คิดเป็น 705 trap-nights หรือ 16,920 trap-hours ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์
                 พ.ศ. 2558 - เดือนมกราคม พ.ศ. 2559 และวิเคราะห์หาค่าดัชนีการเลือกใช้ประโยชน์ เพื่อต้องการทราบชนิดพืชที่
                 สัตว์ป่าเข้ามาใช้ประโยชน์มากที่สุด
                        ผลการศึกษา พบว่ากล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติบันทึกภาพเคลื่อนไหวของสัตว์ป่าได้ 389 คลิป จ�าแนกเป็น
                 สัตว์ป่ากินผลไม้จ�านวน 13 ชนิด ได้แก่ กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 9 ชนิด คือ กระรอกท้องแดง (Callosciurus erythraeus)
                 กระรอกดินแก้มแดง (Dremomys rufigensis) กระรอกบินเล็กแก้มขาว (Hylopetes phayrei) กระเล็นขนปลายหูสั้น
                 (Tamiops mcclellandi) กระแตเหนือ (Tupaia belangeri) หนู (rat) อีเห็นข้างลาย (Paradoxurus hermaphroditus)

                 อีเห็นเครือ (Paguma larvata) และลิงกัง (Macaca nemestrina) และกลุ่มนก 4 ชนิด คือ นกปรอดสีขี้เถ้า (Hemixos
                 flavala) นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ (Alophoixus pallidus) นกปรอดเหลืองหัวจุก (Pycnonotus flaviventris) และนก
                 ปรอดภูเขา (Ixos mcclellandii) สัตว์กินผลไม้ส่วนใหญ่เลือกใช้ประโยชน์จากผลของต้นละมุดสีบุนทา (Madhuca
                 floribunda) มากที่สุด (จ�านวน 8 ชนิด) รองลงมาคือ ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) (5 ชนิด)  และมะเดื่อปล้องหิน
                 (Ficus semicordata) (5 ชนิด) ในขณะที่กล้วยป่า (Musa acuminata) ซึ่งเป็นพืชล้มลุกก็พบสัตว์กินผลไม้เข้ามาใช้
                 ประโยชน์มากเช่นกัน (7 ชนิด) ผลการวิเคราะห์ดัชนีการเลือกใช้ประโยชน์จ�าเพาะของสัตว์กินผลไม้ พบว่าละมุดสีบุนทา

                 เป็นชนิดพืชที่สัตว์กินผลไม้เลือกเข้าใช้สูงสุด บ่งบอกได้ว่าพืชชนิดนี้เป็นพืชส�าคัญส�าหรับสัตว์กินผลไม้ในพื้นที่

                 ค�ำส�ำคัญ: ลักษณะของผล การกระจายเมล็ด แปลงถาวรห้วยคอกม้า ป่าดิบเขาระดับต�่า

                                 ค�ำน�ำ                      การกระจายของประชากรเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสัตว์ป่า

                                                             น�าเมล็ดเคลื่อนที่ไปได้เป็นระยะทางไกลจากต้นแม่ไม้
                        บทบาทหน้าที่ที่ส�าคัญของสัตว์ป่าในระบบ  (mature trees) มากเท่าไร โอกาสในการอยู่รอดและตั้งตัว

                 นิเวศประการหนึ่ง คือ การท�าหน้าที่เป็นผู้ช่วยกระจาย  ได้ก็มีมากขึ้น (Janzen, 1970; Connell, 1971) (Figure 1)
                 เมล็ด (seed disperser) ท�าให้เมล็ดพันธุ์พืชชนิดนั้นๆ   เพราะการงอกภายใต้ต้นแม่ท�าให้กล้าไม้ต้องแข่งขัน

                 กระจายเข้าไปยังแหล่งพื้นที่ใหม่ที่เหมาะสมแก่การงอก  ด้านปัจจัยที่จ�าเป็นต่อการตั้งตัวหลายปัจจัย เช่น ปัจจัย
                 ของเมล็ด พืชจึงมีโอกาสในการตั้งตัวและขยายพื้นที่  ความเข้มแสง ธาตุอาหาร และน�้า เป็นต้น (Stiles,1989)
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32