Page 29 -
P. 29
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 35 (1) : 24-33 (2559) 27
์
เมตร) ซึ่งมีการศึกษานิเวศวิทยาในระยะยาว โดยมีการ (2006, 2015) จากนั้นคัดเลือกพรรณพืชที่มีการติดผล
ติดตามพลวัตของป่าดิบเขา โดยการติดเบอร์หมายเลข ในระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 – มกราคม
ต้นไม้ทุกต้นที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (DBH) พ.ศ. 2559 และมีรายงานการเข้าใช้ประโยชน์ผลของ
ที่ระดับ 1.30 เมตร ตั้งแต่ 2 เซนติเมตร ตั้งแต่ปี 2553 สัตว์ป่า จ�านวน 8 ชนิด ติดตั้งกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติ
พรรณไม้เด่น 5 อันดับแรกเมื่อพิจารณาจากดัชนีค่าความ (camera trap) บนต้นไม้บริเวณที่มีผล จ�านวน 4 ชนิด
ส�าคัญ ได้แก่ ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) ได้แก่ ละมุดสีบุนทา (Madhuca floribunda) เหมือดคน
(34.83%), ก่อหรั่ง (Castanopsis armata) (12.14%), ตัวผู้ (Helicia nilagirica) นิ้วมือพระนารายณ์ (Schefflera
ทะโล้ (Schima wallichii) (11.87%), ก�ายาน (Styrax sp.) และกล้วยป่า (Musa acuminata) ส่วนต้นไม้ที่มี
benzoides) (11.26%) และยาแก้ (Vernonia volkameriiolia) ขนาดใหญ่และสูงเกินกว่าที่จะติดตั้งกล้องดักถ่ายภาพ
(9.44%) (Marod et al., 2014; Marod et al., 2015)
อัตโนมัติบนต้นได้ ท�าการติดตั้งบริเวณโคนต้นที่มีผล
กำรเก็บข้อมูล ร่วงหล่น (Figure 1) จ�านวน 3 ชนิด ได้แก่ ก่อเดือย
รวบรวมข้อมูลจ�านวนต้น ความหนาแน่น (C. acuminatissima) พะวา (Garcinia speciosa) และ
และลักษณะของผล ที่มีรายงานการใช้ประโยชน์ผลของ มะมือ (Choerospondias axillaris) ส่วนต้นไม้ที่มีขนาด
สัตว์ป่าในแปลงถาวรป่าดิบเขาห้วยคอกม้าจากรายงาน เล็กและสามารถติดตั้งกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติได้
ดังต่อไปนี้ Marod et al. (2015); The Botanical Garden ทั้งบนต้นและบริเวณโคนต้นมีจ�านวน 1 ชนิด ได้แก่
Organization (1996, 2003); Rattanavirakul (2003); มะเดื่อปล้องหิน (Ficus semicordata) โดยตั้งค่ากล้องดัก
Veesommai (2004); Chayamrit (2005); Gardner et al. ถ่ายภาพอัตโนมัติให้บันทึกภาพเคลื่อนไหว 30 วินาที/ครั้ง
Figure 1 Position of camera trap. (on the tree and ground)
Figure 1 Position of camera trap. (on the tree and ground)
กำรวิเครำะห์ข้อมูล เลือกใช้ชนิดพืช (electivity index) ดังนี้
น�าภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกได้มาเปิดดูเพื่อ ความถี่สัมพัทธ์ (Relative frequency : Rf)
จ�าแนกชนิดสัตว์ป่า และน�าไปวิเคราะห์การเลือกใช้ ในการใช้ประโยชน์ผลของพืชแต่ละชนิดโดยสัตว์ป่า
ประโยชน์ผลของสัตว์ป่าจากค่าความถี่สัมพัทธ์ (Relative จากกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติ ประเมินตาม Pinyo and
frequency) ในการเข้าใช้ประโยชน์ผลและค่าดัชนีการ Marod (2007) ดังนี้