Page 28 -
P. 28
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
26 Thai J. For. 35 (1) : 24-33 (2016)
ซึ่งต้นไม้หรือแม่ไม้ที่โตกว่าย่อมมีศักยภาพสูงกว่าไม้ สงวนชีวมณฑลห้วยคอกม้า-ล�าเชียงสา เป็นบริเวณที่มี
ขนาดเล็ก นอกจากนี้การที่เมล็ดร่วงหล่นเป็นจ�านวน ความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งทรัพยากรชีวภาพทั้ง
มากภายใต้แม่ไม้มีส่วนดึงดูดให้สัตว์บางชนิดในกลุ่ม พืชพรรณและสัตว์ป่าค่อนข้างสูง ดังนั้นการกระท�าต่อกัน
สัตว์ผู้ท�าลายเมล็ด (seed predator) เข้ามากัดกินผลและ หรือความสัมพันธ์ระหว่างพรรณพืชและสัตว์ป่าเพื่อ
เมล็ดท�าให้โอกาสในการงอกลดลงอีกด้วย (Figure 2) ให้เกิดความสมดุลตามธรรมชาติจึงเป็นกรณีศึกษาที่
เนื่องจากมีแนวโน้มที่สัตว์ผู้ท�าลายเมล็ดเลือกเข้ามากิน น่าสนใจเพราะความรู้ที่ได้นั้นสามารถน�าไปประยุกต์
เมล็ดในบริเวณที่ผลหรือเมล็ดมีความหนาแน่นสูง ทั้งนี้ ใช้ในการฟื้นฟูพื้นที่ป่าที่ถูกรบกวนและช่วยให้พืชมี
สัตว์แต่ละชนิดเลือกกินผลของพืชที่มีลักษณะแตกต่าง การสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติเพื่อคงไว้ซึ่งความหลากหลาย
กันไป เช่น ขนาด สี รูปร่าง ชนิด และรสชาติของผล ทางชีวภาพของป่าดิบเขาอย่างยั่งยืน อย่างไรก็ตาม
เป็นต้น ความสัมพันธ์ของพืชและสัตว์ในลักษณะเช่นนี้ มีรายงานการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพืชแต่การ
มีส่วนช่วยในการสร้างและรักษาสมดุลของการสืบต่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับสัตว์กินพืชในพื้นที่
พันธุ์ของพรรณไม้ภายในป่า ส่งผลให้ระบบนิเวศสามารถ น้อยมาก จึงควรเร่งด�าเนินการศึกษาก่อนที่การรบกวน
ด�ารงอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน จากกิจกรรมของมนุษย์จะน�าไปสู่การสูญเสียความหลาก
ป่าดิบเขา (Montane evergreen forest) จัดเป็น หลายทางชีวภาพจนยากจะท�าการแก้ไข วัตถุประสงค์
ระบบนิเวศที่พบบนพื้นที่ภูเขาสูง พบตั้งแต่ระดับความสูง การศึกษาครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบถึงพืชที่มีความ
1,000 เมตรจากระดับน�้าทะเล จึงมีลักษณะสภาพภูมิอากาศ ส�าคัญต่อการยังชีพของสัตว์ป่าภายในป่าดิบเขาระดับต�่า
ที่ค่อนข้างแตกต่างจากบริเวณพื้นที่ราบโดยเฉพาะอุณหภูมิ อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่
ที่ค่อนข้างต�่าตลอดทั้งปี ส่งผลให้สภาพอากาศมีความหนาว
เย็นและมีความชื้นในอากาศสูง ส่งผลต่อการปรากฏของ อุปกรณ์และวิธีกำร
ชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ป่าที่มีความเฉพาะต่อปัจจัยจ�ากัด สถำนที่ศึกษำ
ดังกล่าว (DEQP, 2002) การรบกวนระบบนิเวศป่าดิบเขา อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ประกอบไปด้วย
ด้วยการปรับเปลี่ยนพื้นที่ป่ามาใช้ประโยชน์ทางด้าน สังคมพืชที่หลากหลาย แต่ที่โดดเด่นคือสังคมพืชป่า
เกษตรกรรมย่อมส่งผลต่อความแปรปรวนของสภาพ ดิบเขา ซึ่งส่วนหนึ่งของป่าดิบเขาระดับต�่าในอุทยาน
ภูมิอากาศท้องถิ่น ทั้งด้านความชื้น ความเข้มแสง และ แห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ถูกประกาศให้เป็นพื้นที่สงวน
อุณหภูมิ ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม (Asanok, 2012) ซึ่ง ชีวมณฑลแม่สา-ห้วยคอกม้า มีการจัดท�าแปลงถาวร
อาจส่งผลกระทบถึงการสูญพันธุ์ของพืชและสัตว์ในระดับ ในพื้นที่ดังกล่าว ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของพระต�าหนัก
ท้องถิ่นได้ การท�าลายป่าดิบเขาท�าให้เกิดหย่อมป่า (forest ภูพิงคราชนิเวศน์ พื้นที่ 0.65 ตารางกิโลเมตร ความสูง
patches) กระจายเป็นหย่อมๆ จนยากที่สัตว์ขนาดใหญ่ จากระดับน�้าทะเล 1,250-1,540 เมตร สภาพภูมิอากาศ
จะอาศัยอยู่ได้จึงไม่ค่อยพบความหลากชนิดของสัตว์ป่า มีค่าอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี อยู่ระหว่าง 2-23 องศา
ขนาดใหญ่ในป่าดิบเขาที่มีการรบกวนมากนักเมื่อเปรียบ เซลเซียส มีปริมาณน�้าฝนเฉลี่ยตลอดปี ระหว่าง
เทียบกับสัตว์ขนาดเล็ก (Marod and Kutintara, 2009) 1,350-2,500 มิลลิเมตร และมีค่าเฉลี่ยความชื้นสัมพัทธ์
ส�าหรับป่าดิบเขาระดับต�่า (Lower montane ตลอดปี ระหว่าง 70-80 เปอร์เซ็นต์ (Saleetid, 1998)
evergreen forest: LMF) ในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย แปลงถาวรป่าดิบเขาระดับต�่า บริเวณลุ่มน�้า
บริเวณด้านหลังพระต�าหนักภูพิงคราชนิเวศ หรือพื้นที่ ห้วยคอกม้า มีพื้นที่ขนาด 16 เฮกแตร์ (400 เมตร × 400