Page 30 -
P. 30

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 28                        Thai J. For. 35 (1) : 24-33 (2016)




                                 ความถี่สัมพัทธ์     =      จ�านวนคลิปที่สัตว์ป่าชนิดนั้นถูกถ่ายได้  × 100
                                                   จ�านวนคลิปที่สัตว์ทุกชนิดถูกถ่ายได้

                        ค�านวณค่าดัชนีการเลือกใช้ชนิดพืช (Eelectivity    ผลและวิจำรณ์
                 index) ประเมินตาม Ivlev (1961) ดังนี้       ลักษณะของพืช

                        E  =   R-P                                   แปลงถาวรป่าดิบเขาห้วยคอกม้ามีพืชชนิด
                              +P
                 โดย    E  =  ค่าดัชนีการเลือกใช้ต้นไม้ชนิดนั้นๆ ซึ่ง  ที่ศึกษา 8 ชนิด จ�านวน 5,178 ต้น ได้แก่ ละมุดสีบุนทา
                            มีค่าระหว่าง -1 ถึง 1            (3 ต้น) ก่อเดือย (4534 ต้น) พะวา (31 ต้น) มะเดื่อปล้องหิน

                        R  =  สัดส่วนของจ�านวนครั้งที่สัตว์เข้าไป  (45 ต้น) มะมือ (122 ต้น) เหมือดคนตัวผู้ (370 ต้น) นิ้วมือ
                            หากินกับพืชชนิดนั้นๆ ต่อจ�านวนครั้ง  พระนารายณ์ (73 ต้น) และกล้วยป่า (ไม่นับจ�านวนต้น)
                            ที่สัตว์เข้าไปใช้ประโยชน์ในการหากิน  โดยมีชนิดผล 4 แบบ คือ ผลมีเนื้อหลายเมล็ด (berry) ผล

                        P  =  สัดส่วนของจ�านวนต้นไม้ที่เป็นชนิดพืช  เปลือกแข็งเมล็ดเดียว (nut) ผลเมล็ดเดียวแข็ง (drupe)
                            ที่สัตว์เข้าไปใช้ประโยชน์ในการหากิน   ผลแบบมะเดื่อ (syconium) และ ขนาดผลส่วนใหญ่เล็ก

                            ต่อจ�านวนต้นไม้ทุกต้นที่เป็นชนิดพืชที่  กว่า 5 เซนติเมตร ยกเว้น ละมุดสีบุนทา และ พะวา ซึ่ง
                            สัตว์เข้าไปใช้ประโยชน์ในแปลงถาวร  มีรายละเอียดดัง Table 1

                 Table 1  Characters of plants in permanent plot.

                                                                                     Fruit trait
                                                                 count  Density                Fruit
                             Botanical name              Ccode                   Fruit   Fruit
                                                                 (trees) (trees/ha)             size
                                                                                 type   color
                                                                                               (cm.)
                 Schefflera sp.                         SCHEFF    73     4.56    berry  black  0.75
                 Castanopsis acuminatissima (Blume) A.DC.  CASTAC  4534  283.35   nut   green  1.26
                 Ficus semicordata Buch.-Ham. ex Sm.    FICUSE    45     2.81  syconium  red     2
                 Choerospondias axillaris (Roxb.) B. L. Burtt. & Hill CHOEAX  122  7.62  drupe  yellow  2.5
                 Garcinia speciosa Wall.                GARCSP    31     1.94    berry   red     5
                 Madhuca floribunda (Pierre) H.J.Lam   MADHFL      3     0.19    berry  green   6.4
                 Helicia nilagirica Bedd.               HELINI    370    23.12   drupe  green    3
                 Musa acuminate Colla.                 MUSAAC      -      -      berry  yellow   -

                 Remark: - no data
                 กำรเลือกใช้ประโยชน์ผลของสัตว์               สัตว์ป่า 13 ชนิด ได้แก่ กระรอกท้องแดง (Callosciurus

                        จากการติดตั้งกล้องดักถ่ายภาพอัตโนมัติมี  erythraeus) กระรอกดินแก้มแดง (Dremomys rufigensis)
                 สัตว์ป่าเข้ามาใช้ประโยชน์ผลของพืชที่ศึกษา 8 ชนิด   กระรอกบินเล็กแก้มขาว (Hylopetes phayrei) กระเล็น

                 จากกล้องดักถ่ายภาพทั้งหมด 24 กล้อง (คิดเป็น 705   ขนปลายหูสั้น (Tamiops mcclellandi) กระแตเหนือ
                 trap-nights หรือ 16,920 trap-hours) สามารถบันทึก  (Tupaia belangeri) หนู (rat) อีเห็นข้างลาย (Paradoxurus
                 ภาพเคลื่อนไหวของสัตว์ป่าได้ 389 คลิป จ�าแนกเป็น  hermaphroditus) อีเห็นเครือ (Paguma larvata) ลิงกัง
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35