Page 17 -
P. 17

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 35 (1) : 11-23 (2559)                     15
                                                         ์



































                Figure 1 Permanent transect plots at remnant dry evergreen forest and edged teak plantations.
             Figure 1  Permanent transect plots at remnant dry evergreen forest and edged teak plantations.
                        3. ส�ารวจองค์ประกอบของพันธุ์ไม้ภายใน  (Dominance; Do) และความถี่ (Frequency; F) จากนั้น
                แปลงย่อยทั้งหมด โดยติดหมายเลขต้นไม้ (tagged tree)   ท�าการหาค่าความสัมพัทธ์ของทั้งสามค่าดังกล่าว คือ
                ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงอก (diameter at breast   ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative density; RD) ความ
                height; DBH) ตั้งแต่ 1 เซนติเมตร ท�าการวัดขนาด การ  เด่นสัมพัทธ์ (Relative dominance; RDo) และความถี่
                ปกคลุมของเรือนยอด (crown cover) และระบุชนิดพันธุ์ไม้   สัมพัทธ์ (Relative frequency; RF) ซึ่งผลรวมของค่า
                        4. เก็บข้อมูลปัจจัยสิ่งแวดล้อมคือ การปกคลุม  ความสัมพัทธ์ทั้งสามค่าคือ ค่าดัชนีความส�าคัญ (IVI)
                ของเรือนยอด โดยใช้เครื่องมือวัดการปกคลุมของ  ของพันธุ์พืช (Marod and Kutintara, 2009)
                เรือนยอด (densiometer) จ�านวน 5 จุด ในแต่ละแปลง     2. ดัชนีความหลากหลายของพันธุ์พืช (diversity

                ย่อย เพื่อน�าค่าที่ได้มาวิเคราะห์การปกคลุมของเรือน  index) ใช้การค�านวณจากสูตรของ Shannon-Weiner
                ยอด และเก็บตัวอย่างดินโดยใช้อุปกรณ์เก็บตัวอย่างดิน   index (H') (Shannon and Weaver, 1949) ดังนี้
                (soil core) ที่ระดับความลึก 0 - 10 เซนติเมตร จ�านวน 3        S
                ตัวอย่างในแต่ละแปลงย่อย เพื่อวิเคราะห์หาความหนา     H  '  =  − ∑  p (  i lnp i )
                แน่นรวมของดิน (soil bulk density; Db) และความชื้น            = i 1
                ดิน (soil moisture)                          เมื่อ   H'  =  ดัชนีความหลากชนิดของ Shannon
                                                                          – Weiner
                กำรวิเครำะห์ข้อมูล                                  S  =  จ�านวนชนิดพันธุ์พืชทั้งหมดที่พบ
             Figure 2  Number of Species in each found Family of Teak plantation at Jedkhod - Pongkhonsao Natural Study

                                                                    p
                                                                        =  อัตราส่วนของจ�านวนชนิดที่ i ต่อ
                      and Ecotourism Center, Kheang Khoi District, Saraburi Province.
                        1. ดัชนีค่าความส�าคัญ (Importance value
                                                                     i
                index; IVI) ของพันธุ์พืช โดยการค�านวณหาค่าความ            ผลรวมของจ�านวนทั้งหมด เมื่อ i =

                หนาแน่น (Density; D) ความเด่นด้านพื้นที่หน้าตัด           1,2,3,..., s
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22