Page 10 -
P. 10
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Figure 1 The percentage of locations of weaver ant queen nest among the high ranges of the canopy.
8 Thai J. For. 35 (1) : 1-10 (2016)
ทิศของรังและทำงเข้ำ-ออกรังของรำชินีมดแดง กับการโคจรขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ แต่ในขณะ
รังราชินีมดแดงสามารถพบได้ทุกทิศทางรอบ เดียวกันกลับสอดคล้องกับทิศทางของกระแสลมที่พัด
ต้นไม้ พบมากที่สุดในทิศใต้ ร้อยละ 24 ของรังราชินี ผ่านประเทศไทยในทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศใต้
มดแดงทั้งหมด รองลงไปคือ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ (ร้อยละ (King Mong Kut’s University of Technology Thonburi
19) และทิศตะวันตกเฉียงใต้ (ร้อยละ 19) ดัง Figure 3 et al., 2012) อาจเนื่องมาจากรังราชินีมดแดงอยู่ด้านใน
ของทรงพุ่มจึงสร้างรังในทิศทางที่กระแสลมพัดผ่าน เพื่อ
เมื่อพิจารณาการสร้างทางเข้า-ออกของรังราชินีมด พบ การถ่ายเทและระบายอากาศภายในรัง เพราะความเร็ว
มากที่สุดในทิศตะวันตกเฉียงใต้ ร้อยละ 24 ของรังราชินีมด ลมและทิศทางของลมจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นไป
ทั้งหมด รองลงไปเป็นทิศตะวันออกเฉียงใต้ (ร้อยละ 19) ในช่วงระยะยาว (National Science and Technology
และ ทิศใต้ (ร้อยละ 19) ตามล�าดับ เห็นได้ว่าต�าแหน่งการ
Development (NSTDA), 2002)
Figure 2 The percentages of locations of weaver ant queen nest among the wide ranges of the canopy.
สร้างรังและทางเข้า-ออกของรังราชินีมด อยู่ในทิศที่ตรงข้าม
Figure 3 Percentages of direction of queen nest and direction of queen nest opening in Thailand.
Notes: N=North, EN=Northeast, E=East, ES=Southeast, S=South, WS=Southwest, W=West,
Figure 3 Percentages of direction of queen nest and direction of queen nest opening in Thailand.
WN= Northwest: (a) direction of queen nest, (b) direction of queen nest opening.
Notes: N=North, EN=Northeast, E=East, ES=Southeast, S=South, WS=Southwest, W=West,
ปริมำณและพฤติกรรมของมดงำน
ที่ไม่มีราชินีมดแดงสอดคล้องกับผลการศึกษาของ Van
WN= Northwest: (a) direction of queen nest, (b) direction of queen nest opening.
โดยทั่วไปเมื่อรังมดแดงถูกรบกวน มดงานจะมี Itterbeeck et al. (2014) พบว่า พฤติกรรมการปกป้อง
พฤติกรรม 2 ลักษณะคือ 1) ปกป้องโคโลนี 2) ปกป้อง โคโลนีของมดแดง โดยมดงานจะออกจากรังไปยังบริเวณ
ราชินีมด (HÖlldobler and Wilson, 1990) การศึกษา ที่มีการรบกวนทันที ขณะเดียวกันมดงานจะกระจายตัว
ปริมาณมดงานในรังขนาดเล็ก พบว่ารังราชินีมดแดงมี รอบๆ รังที่มีราชินีมดแดงอาศัยอยู่และรวมตัวห่อหุ้ม
ปริมาณมดงานหนาแน่นมากกว่ารังที่ไม่มีราชินีมดแดง ราชินีมดแดงอย่างหนาแน่น มีลักษณะเป็นกระจุกก้อน
2-3 เท่าของจ�านวนตัวมดงาน ลักษณะการปกป้องราชินีมด กลมปกคลุมตัวราชินีเอาไว้
เมื่อโคโลนีถูกรบกวน มดงานจะเกาะตัวกันเป็นกระจุก แต่อย่างไรก็ตามลักษณะของรังที่ก�าลังสร้าง
ปกคลุมตัวราชินีอย่างเหนียวแน่น มดงานส่วนใหญ่ไม่ ใหม่ เมื่อดูภายนอกรังมีพฤติกรรมคล้ายการปกป้องมด
เคลื่อนที่ออกห่างจากรังของราชินี รวมถึงตามล�าต้น ราชินี เนื่องจากมีการต่อตัวเป็นโซ่และรวมตัวกันยึดใบไม้
และกิ่งหลักของต้นไม้ที่มีราชินีอาศัยอยู่จะมีจ�านวนตัว แต่จะมีความแตกต่างจากรังราชินีคือ การยึดใบไม้ของ
ของมดงานและเส้นทางเดินเพิ่มมากขึ้นเมื่อเทียบกับต้น รังจะหลวมๆ มีช่องว่างระหว่างรังให้เห็นชัดเจน