Page 5 -
P. 5
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 35 (1) : 1-10 (2559) 3
์
การเลี้ยงมดแดงยังมีปัญหาส�าหรับในพื้นที่ที่ 10 เซนติเมตร) รังขนาดกลาง (10-20 เซนติเมตร) และ
ไม่มีมดแดง ในการศึกษานี้ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ รังขนาดใหญ่ (มากกว่า 20 เซนติเมตรขึ้นไป) วัดความสูง
ขนาดรัง ลักษณะรัง ความสูงรังทั้งทางด้านตั้งและด้าน ของต�าแหน่งรังราชินีจากพื้นดินและทรงพุ่มของต้นไม้
ราบ ต�าแหน่งรังมดราชินี ตลอดจนปริมาณและพฤติกรรม ทิศที่ตั้งของรังบนต้นไม้ และทิศเข้า-ออกของรังราชินี
ของมดงานบนต้นไม้ที่พบรังมดราชินี เพื่อการหาราชินี ระยะเวลาที่ท�าการศึกษาคือเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556
มดแดงน�าไปเลี้ยงในพื้นที่ที่ไม่มีมดแดงอาศัย ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 ทั้งหมด 19 เดือน
อุปกรณ์และวิธีกำร กำรวิเครำะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของ
พื้นที่ศึกษำ จุดที่พบราชินีมดแดงกับความสูงและความกว้างของ
การศึกษานี้ด�าเนินการในภูมิภาคต่างๆของ ทรงพุ่มต้นไม้โดยวิธี Spearman correlation โดยใช้
ประเทศไทย ได้แก่ ภาคใต้ ภาคกลาง ภาคตะวันตก โปรแกรม SPSS V.18
ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศึกษาในจังหวัด
ต่างๆ เป็นตัวแทนกระจายทั่วทุกภาคของประเทศไทย ผลและวิจำรณ์
ดังแสดงใน Table 1 โคโลนีมดแดง
การเลือกโคโลนีมดแดงเพื่อศึกษาต�าแหน่ง จากการส�ารวจรังมดแดงตามภูมิภาคต่างๆ
รังราชินีมดแดงในธรรมชาติจะเลือกพื้นที่ที่พบการสร้าง ดังรายละเอียดใน Table 1 พบโคโลนีมดแดงทั้งหมด
โคโลนีของมดแดงครอบครองต้นไม้ระหว่าง 1-5 ต้น 20 โคโลนี ในจ�านวนนี้ 4 โคโลนีครอบครองต้นไม้ 1 ต้น
ความสูงของต้นไม้ 3-10 เมตร ได้ศึกษาในจังหวัดต่างๆ และ 16 โคโลนีครอบครองต้นไม้ระหว่าง 2-6 ต้น รวม
เป็นตัวแทนกระจายทั่วทุกภาคของประเทศไทย ดัง ต้นไม้ทั้งหมด 57 ต้น ในแต่ละโคโลนีของมดแดงมี
แสดงใน Table 1
ราชินีมด 1 ตัว สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Way
กำรเก็บข้อมูล (1954); Vanderplank (1960) and Varela (1990) ที่พบ
การศึกษาต�าแหน่งรังราชินีมดแดงในธรรมชาติ ราชินีมดแดง 1 ตัวต่อ 1 โคโลนีเช่นกัน
จะพิจารณาจากหลักการของ Van Itterbeeck et al. (2014) จ�านวนรังมดแดงที่ศึกษามีทั้งหมด 593 รัง
ที่กล่าวไว้ว่า “รังของราชินีมดแดงจะมีจ�านวนตัวของ ส่วนใหญ่สร้างรังอยู่ระหว่าง 11-20 รังต่อโคโลนี ทั้งนี้
มดงานหนาแน่นมากกว่ารังที่ไม่มีราชินีมด” ในบริเวณ ขึ้นอยู่กับปริมาณมดงาน ขนาดทรงพุ่ม และความพร้อม
ที่พบการสร้างรังของมดแดงได้ท�าการรบกวนด้วยการ ของใบไม้ที่มดแดงสามารถใช้ในการสร้างรังได้ ต้นไม้
เขย่าต้นไม้หรือท�าให้เกิดความสะเทือนถึงรังมดทุกรัง ที่มดแดงสร้างรังมีทั้งหมด 19 ชนิด แต่ละโคโลนีอาจมี
แล้วเลือกหาราชินีมดในรังที่ปรากฏจ�านวนตัวของมดงาน การสร้างรังและครอบครองต้นไม้ 1-5 ชนิด ทั้งไม้ผลัดใบ
มากที่สุด เมื่อค้นพบราชินีมดแดงแล้วจึงบันทึกพฤติกรรม และไม่ผลัดใบ ทั้งใบเดี่ยวและใบประกอบ ซึ่งชนิด
ของมดแดง วัดความสูงต้นไม้ นับจ�านวนรังทั้งหมดบน ต้นไม้ที่มดแดงใช้ในการสร้างรังจะเป็นกลุ่มที่ใบไม้ไม่มี
ต้นไม้แต่ละต้นจนครบทุกต้นที่มดแดงครอบครองใน ขน ใบไม่แข็งจนเกินไป กลุ่มพืชในลักษณะดังกล่าวนี้
แต่ละโคโลนี โดยแบ่งรังมดแดงออกเป็น 3 ขนาดคือ รัง สามารถใช้เป็นพืชในการเลี้ยงมดแดงได้
ขนาดเล็ก (มีความกว้าง ความยาว และความสูง น้อยกว่า