Page 4 -
P. 4
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2 Thai J. For. 35 (1) : 1-10 (2016)
บทคัดย่อ
การศึกษาต�าแหน่งรังราชินีมดแดงในประเทศไทยด�าเนินการระหว่างปี พ.ศ. 2556 ถึง พ.ศ. 2557 เพื่อทราบ
ขนาด ลักษณะโครงสร้าง ต�าแหน่งและทิศทางของรังมดราชินี การหาต�าแหน่งรังราชินีพิจารณาจากพฤติกรรมการ
ปกป้องราชินีของมดงานเป็นหลัก นอกจากนี้ท�าการนับจ�านวนต้นไม้ที่มดแดงแต่ละโคโลนีครอบครอง จ�านวนรัง
แยกตามขนาดรัง ลักษณะรัง วัดความสูงต้นไม้ ความสูงและความกว้างเรือนยอดต้นไม้ ความหนาแน่นและพฤติกรรม
มดงานของแต่ละโคโลนี
จากการศึกษาพบราชินีมดแดง 1 ตัวต่อโคโลนี ซึ่งอาศัยอยู่เฉพาะในรังขนาดเล็ก บนต้นไม้ต้นที่มีจ�านวนรัง
มากที่สุด (ร้อยละ 93.5) และสูงที่สุด (ร้อยละ 93.75)ในกลุ่มต้นไม้ที่มดแดงแต่ละโคโลนีครอบครอง ภายในรังราชินี
ถูกแบ่งเป็น 1-3 ห้อง ทางเข้า-ออกของรังมีขนาดใหญ่กว่ารังอื่นๆ ต�าแหน่งของรังราชินีส่วนใหญ่พบอยู่บริเวณส่วน
กลางเรือนยอดแนวตั้ง (ร้อยละ 75 ของจ�านวนรังราชินีทั้งหมด) และอยู่บริเวณช่วงกลางทรงพุ่มในแนวราบ (ร้อยละ 55
ของจ�านวนรังราชินีทั้งหมด) ความสัมพันธ์ระหว่างต�าแหน่งรังราชินีกับความสูงของทรงพุ่มต้นไม้มีความสัมพันธ์กัน
อย่างมีนัยส�าคัญยิ่งทางสถิติ (r = 0.648 ; P < 0.01) และความสัมพันธ์ระหว่างต�าแหน่งรังราชินีมดแดงกับความกว้าง
ของทรงพุ่มต้นไม้มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (r = 0.527 ; P < 0.05) รังของราชินีมดแดงพบได้ทุก
ทิศทางรอบต้นไม้ พบมากที่สุดทางทิศใต้ (ร้อยละ 24 ของจ�านวนรังราชินีทั้งหมด) ส�าหรับทางเข้า-ออกของรังพบ
ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้มากที่สุด (ร้อยละ 24 ของจ�านวนรังราชินีทั้งหมด)
การศึกษานี้ช่วยแก้ปัญหาให้สามารถเลี้ยงมดแดงในพื้นที่ที่ไม่มีมดแดงอาศัย และเป็นรายงานใหม่ที่ยังไม่มี
การศึกษามาก่อนในประเทศไทย
ค�ำส�ำคัญ: มดแดง ราชินีมดแดง ต�าแหน่งรังราชินี ประเทศไทย
ค�ำน�ำ แหล่งอาหารโลกที่ส�าคัญในอนาคต (Offenberg and
Wiwatwitaya, 2009) มดแดงสามารถเลี้ยงได้ในทุกพื้นที่
ในกลุ่มราษฎรที่มีรายได้หลักจากการท�านา
ส่วนใหญ่ อาศัยพึ่งพิงธรรมชาติด้วยการเก็บหาของป่า ไม่ต้องใช้เงินหรือมีต้นทุน เพราะอาหารเลี้ยงมดแดง
สามารถหาได้จากธรรมชาติในท้องถิ่นนั้นๆ นอกจากนี้
พืชผักและผลผลิตจากแมลง (Puargmalee and Santi, การเลี้ยงมดแดงยังสามารถช่วยควบคุมและลดแมลง
2014) ในฤดูแล้งการขาดแคลนแหล่งน�้าท�าให้ราษฎร ศัตรูพืชได้ ช่วยลดต้นทุนการใช้สารเคมี ท�าให้พืชผล
ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ จึงขาดรายได้หลักใน ของเกษตรกรมีคุณภาพและมูลค่าเพิ่มขึ้น และยังเป็นผลดี
ช่วงนี้ มดแดงจัดเป็นแมลงกินได้ที่มีความส�าคัญทาง กับสุขภาพของเกษตรกร ไม่เกิดมลพิษกับสิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจมากชนิดหนึ่ง ไข่มดแดงเป็นที่นิยมและรู้จักกัน (Barzman et al., 1996; Van Mele and Cuc, 2000; Peng
มายาวนาน ถือเป็นอาหารที่ล�้าค่าและมีมูลค่าค่อนข้างสูง and Christian, 2005; Van Mele and Cuc, 2007 and Van
สามารถน�ามาประกอบอาหารได้หลากหลาย เป็นอาหาร Mele, 2008) ถึงแม้ว่าการเลี้ยงมดแดงมีผลกระทบจาก
คน และสัตว์ มีคุณค่าทางโปรตีนสูง จึงเป็นสินค้าที่ เพลี้ยที่มดแดงน�าเข้ามาเลี้ยงบนต้นไม้แต่ผลผลิตและ
สามารถสร้างรายได้เสริมให้กับราษฎรในช่วงฤดูแล้ง มูลค่าที่ได้จากการเลี้ยงมดแดงเพื่อก�าจัดศัตรูพืชจะให้
ได้เป็นอย่างดี รวมไปถึงองค์การอาหารและการเกษตร ประโยชน์ที่สูงสุดแก่เกษตรกร เมื่อเปรียบเทียบกับการ
แห่งสหประชาชาติ (FAO.) ยังระบุว่าไข่มดแดงเป็น ใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลงที่เป็นมลพิษในสิ่งแวดล้อม