Page 7 -
P. 7

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 35 (1) : 1-10 (2559)                       5
                                                         ์



                 จากตัวหนอนมดงาน และใบไม้จ�านวนมาก และสร้าง  จาก 16 โคโลนี มีความสูงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 93.72
                 ได้ในช่วงที่ใบไม้แตกใบอ่อนเท่านั้น (Wiwatwittaya,   ของโคโลนีมดแดงทั้งหมดที่ครอบครองต้นไม้มากกว่า
                 2009) การสร้างรังจ�านวนมากมีไว้เพื่อเก็บไข่และตัว  1 ต้น
                 หนอนที่ย้ายจากรังราชินี และเป็นที่อาศัยของมดงานที่     1) ความสัมพันธ์ระหว่างต�าแหน่งรังราชินีกับ
                 คอยปกป้องราชินีถือเป็นหัวใจหลักที่ส�าคัญที่สุดของ  ความสูงของทรงพุ่มต้นไม้
                 โคโลนี เป็นพฤติกรรมการอยู่ร่วมกันเป็นสังคมของมด     ต�าแหน่งรังราชินีกับความสูงของทรงพุ่ม

                 โดยทั่วไป (HÖlldobler and Wilson, 1990)     ต้นไม้มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส�าคัญยิ่งทางสถิติ

                 ขนำดรังและลักษณะโครงสร้ำงรังรำชินีมดแดง     (r =  0.922 ; P < 0.01) จากการแบ่งสัดส่วนความสูงของ
                        จากการศึกษาพบว่าราชินีมดแดงอาศัยอยู่  ทรงพุ่มบนต้นไม้ที่พบรังราชินีเป็น 3 ช่วงแต่ละช่วงมี
                 เฉพาะในรังขนาดเล็ก ลักษณะโครงสร้างภายนอกไม่  ความสูงเท่ากัน พบว่ารังของราชินีปรากฏในช่วงที่ 2
                 แตกต่างจากรังที่ไม่มีมดราชินีทั้งด้านรูปทรงและขนาด   มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 75 ของจ�านวนรังราชินีทั้งหมด

                 อาจเป็นรูปเรียวรีหรือทรงกลม หากสร้างรังด้วยใบที่เรียว  และพบช่วงที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 25 ของจ�านวนรังราชินี
                 ยาวจะใช้ใบไม้ 3-4 ใบ ประกบติดกันเป็นรัง หากรูปใบกลม  ทั้งหมดดัง Figure 1 เมื่อวัดความสูงจากปลายสูงสุดของ
                 มนขนาดเล็กใช้ใบจ�านวน 5-10 ใบในการสร้างรัง   ทรงพุ่มลงมาถึงจุดที่พบการสร้างรังของราชินีมดแดง
                        ทางเข้า-ออกของรังราชินี มีความกว้างและ  (Table 2) พบรังราชินีมดแดงอยู่ในช่วงไม่เกิน 2 เมตร
                 ความยาวอยู่ระหว่าง 3-4 เซนติเมตร แตกต่างจากรังที่ไม่มี  มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 80 ของจ�านวนรังราชินีทั้งหมด

                 ราชินีซึ่งมีขนาดทางเข้า-ออก 1-2 เซนติเมตร โครงสร้าง  และช่วงไม่เกิน 1 เมตรพบร้อยละ 55 ของจ�านวนรังราชินี
                 ภายในรังที่มีมดราชินีไม่มีความซับซ้อน จ�านวนห้อง  ทั้งหมด เมื่อแบ่งขนาดความสูงของทรงพุ่มเป็น 3 ขนาด
                 ถูกแบ่งย่อยเป็น 1-3 ห้อง หากเป็นรังขนาดเล็กที่ไม่มี  (Table 3) จะพบว่า ทรงพุ่มต้นไม้ขนาดเล็กมีความสูง
                 มดราชินีอาศัยอยู่จะมีโครงสร้างภายในรัง 2 แบบ คือ   ≤ 3 เมตร ค่าความสูงที่วัดจากปลายทรงพุ่มถึงรังของ
                 1) โครงสร้างอย่างง่าย มีห้องเดียวสร้างจากใบไม้ 1 ใบที่  ราชินีมดแดงมีค่าเฉลี่ย 0.9 ± 0.5 เมตร และในขณะ
                 เป็นใบเดี่ยวขนาดใหญ่ 2) โครงสร้างที่ซับซ้อน ภายใน  เดียวกันทรงพุ่มต้นไม้ขนาดใหญ่มีความสูง 6.1-9 เมตร

                 รังถูกแบ่งย่อยหลายห้องสร้างจากใบประกอบขนาดเล็ก   ค่าที่วัดจากปลายพุ่มต้นไม้ถึงรังราชินีมดแดงมีค่าเฉลี่ย
                        ขนาดทางเข้า-ออกของรังราชินีกว้างกว่ารังมด  มากขึ้นเป็น 2.5 ± 1.3 เมตร
                 ทั่วไป เพื่อความสะดวกในการขนย้ายไข่ไปเก็บไว้ในรังอื่น      ดังนั้นรังของมดราชินีจะปรากฏอยู่บริเวณ
                 เพราะภายในรังราชินีมีขนาดเล็กจึงไม่มีความเหมาะสม  ระหว่างปลายเรือนยอดกับส่วนกลางของทรงพุ่มต้นไม้
                 ส�าหรับใช้ในการเก็บไข่และเลี้ยงตัวอ่อน นอกจากนี้  เนื่องจากการส่องผ่านของแสงและการถ่ายเทอากาศ

                 เพื่อความสะดวกในการเคลื่อนย้ายมดราชินี เมื่อรังมีสภาพ  ภายในพุ่มมีความเหมาะสมต่อการสร้างรังราชินีมดแดง
                 ไม่เหมาะสมหรือถูกรบกวน มดงานจะเข้าปกคลุมตัวมด  มากกว่าด้านล่างของทรงพุ่ม เพราะภายในเรือนยอด
                 ราชินีเป็นลักษณะก้อนกลมขนาดใหญ่ก่อนเคลื่อนย้าย  มีการแตกแขนงจากกิ่งหลัก มีการเพิ่มของใบใหม่
                 ออกจากรัง
                                                             (Varnishagul, 2003; Na Songkhla, 2012) ล�าต้นหรือ
                 ควำมสูงของต้นไม้ที่พบรังรำชินีมดแดง         กิ่งหลักมีความแข็งแรงและมีแรงลมที่ปะทะผ่านส่วน

                        จากการศึกษานี้พบว่าโคโลนีที่มีการครอบครอง  เรือนยอดน้อยที่สุดจึงง่ายแก่การปกป้องและมีความ
                 ต้นไม้มากกว่า 1 ต้น ต้นไม้ที่มีราชินีมดแดงอาศัย 15 โคโลนี   ปลอดภัยสูงที่สุด (Strauss and Novak, 1998)
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12