Page 56 -
P. 56
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
54 Thai J. For. 33 (1) : 47-56 (2014)
สมมติฐานที่ 10 ประชาชนที่มีระยะเวลาใน 2.00 คะแนนตามล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบ
การตั้งถิ่นฐานต่างกัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร ว่า ประชาชนที่มีการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับป่าไม้ต่างกัน
ป่าไม้แตกต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน
เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ น้อยกว่า 21 ปี 21-40 ปี 41-60 ปี อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (t = 2.266; p-value = 0.038)
และ 61 ปีขึ้นไป โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.46 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชน
2.22 2.16 และ 2.73 คะแนนตามล�าดับ ผลการทดสอบ ที่เคยได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับป่าไม้ อาจจะมีความรู้ความ
สมมติฐานพบว่า ประชาชนที่มีระยะเวลาในการตั้ง เข้าใจและเห็นในคุณค่าความส�าคัญของป่าไม้มากกว่า
ถิ่นฐานต่างกันมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่า จึงท�าให้ประชาชนที่รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับป่าไม้ อาจจะ
ไม้แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (F = 5.181; เข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้มากกว่า
p-value = 0.002) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ ผู้ที่ไม่เคยรับรู้ข่าวสาร
เนื่องจากประชาชนที่มีการตั้งถิ่นฐานเป็นระยะเวลานาน สมมติฐานที่ 13 ประชาชนที่มีความรู้ความ
โดยเฉพาะตั้งแต่ 61 ปีขึ้นไป มักจะมีความผูกพันและ เข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ต่างกัน มีส่วน
เห็นความส�าคัญของทรัพยากรธรรมชาติที่ได้ท�าการ ร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน ในการ
พึ่งพิงมาเป็นเวลานานมาก จึงเข้ามามีส่วนร่วมในการ วิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ น้อย
อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้มากกว่าผู้ที่มีระยะเวลาการตั้ง ปานกลาง และมาก โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย
ถิ่นฐานน้อยกว่า 2.50 2.43 และ 2.16 คะแนนตามล�าดับ ผลการทดสอบ
สมมติฐานที่ 11 ประชาชนที่เป็นสมาชิก สมมติฐานพบว่า ประชาชนที่มีความรู้ความเข้าใจ
เครือข่ายต่างกัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ต่างกัน มีส่วนร่วม
ป่าไม้แตกต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกันอย่างมีนัย
เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ เป็นและไม่เป็น โดยมีคะแนนการมี ส�าคัญทางสถิติ (F= 10.033; p-value = 0.000) ซึ่งเป็น
ส่วนร่วมเฉลี่ย 2.20 และ 2.57 คะแนนตามล�าดับ ผลการ ไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนที่มี
ทดสอบสมมติฐานพบว่า ประชาชนที่มีการเป็นสมาชิก ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้น้อยกว่า ส่วน
เครือข่ายต่างกันมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร ใหญ่จะมีอาชีพหลักทางการเกษตรและไม่มีอาชีพรอง
ป่าไม้แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (t = -4.010; เพราะมีข้อจ�ากัดทางด้านความรู้และเข้าใจในบทบาท
p-value = 0.000) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ ของป่าไม้ในการอนุรักษ์ดินและน�้า ที่เป็นสิ่งจ�าเป็นต่อ
เนื่องจากประชาชนที่ไม่เป็นสมาชิกเครือข่ายใดๆ มัก อาชีพการเกษตรและมีเวลาว่างมากกว่า ท�าให้มีความ
จะมีเวลาว่างมากกว่าผู้ที่เป็นสมาชิกเครือข่ายทางสังคม สนใจที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ท�าให้สนใจที่เข้าร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ป่าไม้มากกว่าผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์
มากกว่าผู้ที่เป็นสมาชิกเครือข่ายทางสังคม ทรัพยากรป่าไม้ที่อยู่ในระดับมาก
สมมติฐานที่ 12 ประชาชนที่มีการรับรู้ข่าวสาร สมมติฐานที่ 14 ประชาชนที่ได้รับประโยชน์
เกี่ยวกับป่าไม้ต่างกัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร จากป่าไม้ต่างกัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ป่าไม้แตกต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระ ป่าไม้แตกต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระ
เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ เคยรับรู้ข่าวสาร และไม่เคยรับรู้ เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ น้อย ปานกลาง มาก โดยมีคะแนน
ข่าวสาร โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.25 และ การมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.04 2.47 และ 2.04 คะแนนตาม