Page 57 -
P. 57
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 47-56 (2557) 55
์
ล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ประชาชนที่ได้รับ มาเพื่อการค้า ซึ่งจะเป็นการเก็บเกี่ยวผลผลิตที่เกินก�าลัง
ประโยชน์จากป่าไม้ต่างกันมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ผลิต และในกลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากป่าน้อยจะไม่ค่อย
ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ เห็นความส�าคัญของทรัพยากรป่าไม้ ซึ่งท�าให้กลุ่มที่
(F = 30.406; p-value = 0.000) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน ได้รับประโยชน์จากป่าในระดับปานกลางมีความตระหนัก
ที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนที่ได้รับประโยชน์จาก ในคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้มากกว่า และสนใจที่จะเข้า
ป่าไม้ในระดับปานกลางหรือเป็นไปในทางสายกลาง มามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้มากกว่าผู้ที่
ซึ่งจะเอื้อต่อความยั่งยืนของทรัพยากรป่าไม้มากกว่าการ ได้ประโยชน์จากป่าไม้ในระดับที่น้อยและมาก
พึ่งพิงทรัพยากรที่มากเกินไป โดยเก็บหาทรัพยากรป่าไม้
Table 1 Results of hypothesis testing about factors affecting people participation in forest
resource conservation at Pa Dong Ranaeng national reserved forest, Yang Talat and
Huai Mek districts, Kalasin province.
Results of hypothesis testing
Independent Variables
F t P - value
1. Gender - -0.831 0.407
2. Age 3.470 - 0.016*
3. Education level 13.782 - 0.000**
4. Main occupation 2.104 - 0.123
5. Minor occupation 30.673 - 0.000**
6. Size of land holding 6.584 - 0.000**
7. Number of household members 51.035 - 0.000**
8. Number of household labours - -3.276 0.001**
9. Total household income 2.214 - 0.086
10. Settlement period 5.181 - 0.002**
11. Network member being - -4.010 0.000**
12. Receiving of forest information - 2.266 0.038*
13. Knowledge about forest resource conservation 10.033 - 0.000**
14. Receiving of forest benefit 30.406 - 0.000**
Remarks: * significance level 0.05
** significance level 0.01
สรุป สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.37 คน ประชาชนส่วนใหญ่
1. ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของ ได้รับประโยชน์จากป่าไม้โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
ประชาชน ผลจากการศึกษาพบว่า ประชาชนที่ท�าการ และมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากร
ศึกษาส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย 51-60 ปี มีการศึกษาระดับ ป่าไม้โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ประถมศึกษา/ต�่ากว่า ระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐานเฉลี่ย 2. ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนใน
ประมาณ 38 ปี มีอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลักและ การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ บริเวณพื้นที่ป่าสงวนแห่ง
อาชีพรอง ขนาดที่ดินที่ถือครองเฉลี่ย 13.69 ไร่ มีจ�านวน ชาติป่าดงระแนง พบว่า การมีส่วนร่วมในภาพรวมของ