Page 54 -
P. 54
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
52 Thai J. For. 33 (1) : 47-56 (2014)
14. การได้รับประโยชน์จากป่าไม้ ผลการศึกษา สถิติ (t = -0.831; p-value = 0.407) ซึ่งไม่เป็นไปตาม
พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับประโยชน์จากป่าไม้อยู่ สมมติฐานที่ตั้งไว้
ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 45.34 รองลงมา สมมติฐานที่ 2 ประชาชนที่มีอายุต่างกัน มี
ได้รับประโยชน์จากป่าไม้อยู่ในระดับน้อยและมาก ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน
คิดเป็นร้อยละ 41.71 และ 12.95 ตามล�าดับ โดยมี ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
กิจกรรมการใช้ประโยชน์สูงสุด คือ การมีส่วนใช้ไม้ใน น้อยกว่า 41 ปี 41-50 ปี 51-60 ปี และ 61 ปีขึ้นไป โดย
การก่อสร้างบ้านเรือน เครื่องใช้ในครัวเรือน มีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.52 2.12 2.27 และ
2.23 คะแนนตามล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน
ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ พบว่า ประชาชนที่มีอายุต่างกันมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
ทรัพยากรป่าไม้บริเวณพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
ป่าดงระแนง อ�าเภอยางตลาดและอ�าเภอห้วยเม็ก (F = 3.470; p-value = 0.016) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน
จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เพราะประชาชนที่มีอายุน้อยกว่า 41 ปี
ผลการศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชน อาจจะมีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้โดยตรง
ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ย รวมถึงการมีพละก�าลังที่แข็งแรง ท�าให้มีความสนใจ
2.53 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อจ�าแนก ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากร มากกว่าประชาชนที่มีอายุในช่วงอื่นๆ
ป่าไม้ออกเป็นรายด้านพบว่า 1) การมีส่วนร่วมศึกษา สมมติฐานที่ 3 ประชาชนที่มีระดับการศึกษา
ปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย 2.85 คะแนน ต่างกัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่าง
2) การมีส่วนร่วมวางแผนงานในระดับปานกลาง มี กัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
ค่าเฉลี่ย 2.43 คะแนน 3) การมีส่วนร่วมปฏิบัติงานใน ประถมศึกษา/ต�่ากว่า มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษา
ระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย 2.45 คะแนน 4) การมีส่วน ตอนปลาย/ปวช. และปวส./อนุปริญญา/ปริญญาตรีหรือ
ร่วมตรวจติดตามและประเมินผลงานในระดับปานกลาง สูงกว่า โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.32 2.06 1.74
มีค่าเฉลี่ย 2.37 คะแนน และ 2.00 คะแนนตามล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน
พบว่า ประชาชนที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีส่วนร่วมใน
ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญ
ทรัพยากรป่าไม้บริเวณพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ทางสถิติ (F= 13.782; p-value = 0.000) ซึ่งเป็นไปตาม
ป่าดงระแนง อ�าเภอยางตลาด และอ�าเภอห้วยเม็ก สมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนที่มีระดับ
จังหวัดกาฬสินธุ์ การศึกษาไม่สูงมากนัก อาจจะต้องพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้
ผลการศึกษาดังนี้และสรุปผลแสดงในตารางที่ 1 โดยตรงเพื่อการยังชีพ และมักจะมีเวลาว่างหลังจาก
สมมติฐานที่ 1 ประชาชนที่มีเพศต่างกัน มี การประกอบอาชีพมากกว่า ท�าให้เข้ามามีส่วนร่วมใน
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน ใน การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้มากกว่าประชาชนที่มีระดับ
การวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ชาย การศึกษาที่สูงกว่า
และหญิง โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.22 และ สมมติฐานที่ 4 ประชาชนที่มีอาชีพหลักต่าง
2.28 คะแนนตามล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบ กัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน
ว่า ประชาชนที่มีเพศต่างกันมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส�าคัญทาง รับจ้าง ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ และเกษตรกรรม โดยมี