Page 55 -
P. 55
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 47-56 (2557) 53
์
คะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.48 2.25 และ 2.22 คะแนน ป่าไม้แตกต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระ
ตามล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ประชาชนที่ เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ไม่เกิน 3 คน 4–6 คน และ มากกว่า 6
มีอาชีพหลักต่างกันมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร คนขึ้นไป โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.72 2.08
ป่าไม้แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติ (F= 2.104; และ 2.65 คะแนนตามล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน
p-value = 0.123) ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ พบว่า ประชาชนที่มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนต่างกัน
สมมติฐานที่ 5 ประชาชนที่มีอาชีพรองต่าง มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน
กัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (F = 51.035; p-value = 0.000)
ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระเป็น 4 กลุ่ม ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชน
ได้แก่ ไม่มีอาชีพรอง เกษตรกรรม ค้าขาย รับจ้าง โดย ที่มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนน้อยคือ ไม่เกิน 3 คน มัก
มีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.51 2.15 1.71 และ จะไม่ค่อยมีภาระเลี้ยงดูลูกมากนัก ท�าให้มีเวลาที่เข้ามา
2.12 คะแนนตามล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้มากกว่าครัว
ว่า ประชาชนที่มีอาชีพรองต่างกันมีส่วนร่วมในการ เรือนที่มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนมาก
อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญ สมมติฐานที่ 8 ประชาชนที่มีจ�านวนแรงงาน
ทางสถิติ (F = 30.673; p-value = 0.000) ซึ่งเป็นไป ในครัวเรือนต่างกัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากกลุ่มประชาชน ป่าไม้แตกต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระ
ที่ไม่มีอาชีพรอง อาจมีเวลาในการเข้ามามีส่วนร่วมใน เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ไม่เกิน 3 คน และ 4-6 คน โดยมีคะแนน
การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้มากกว่าประชาชนที่มีอาชีพ การมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.19 และ 2.46 คะแนนตามล�าดับ
รอง ได้แก่ เกษตรกรรม รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ รับจ้าง ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ประชาชนที่มีจ�านวน
สมมติฐานที่ 6 ประชาชนที่มีขนาดพื้นที่ถือ แรงงานในครัวเรือนต่างกัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
ครองต่างกัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (t
แตกต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระเป็น 5 = -3.276; p-value = 0.001) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่
กลุ่มได้แก่ ไม่เกิน 5 ไร่ 6-10 ไร่ 11-15 ไร่ 16-20 ไร่ และ ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากการมีจ�านวนแรงงานในครัวเรือน
21 ไร่ขึ้นไป โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.08 2.40 มาก จะมีแรงงานส่วนเกินจากการประกอบอาชีพของ
2.20 2.14 และ 2.54 คะแนนตามล�าดับ ผลการทดสอบ ตนเอง ท�าให้มีเวลาที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
สมมติฐานพบว่า ประชาชนที่มีขนาดพื้นที่ถือครองต่าง ทรัพยากรป่าไม้มากขึ้น
กันมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน สมมติฐานที่ 9 ประชาชนที่มีรายได้รวมของ
อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (F = 6.584; p-value = 0.000) ครัวเรือนต่างกัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชน ป่าไม้แตกต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระ
ที่มีขนาดพื้นที่ถือครองมาก จะมีอาชีพหลักทางการ เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ไม่เกิน 50,000 บาท 50,001-150,000
เกษตรและมีความจ�าเป็นที่ต้องใช้น�้าในการเพาะปลูก บาท 150,001-250,000 บาท และ 250,001 บาทขึ้นไป
พืชผลทางการเกษตร จึงให้ความส�าคัญกับการอนุรักษ์ โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 2.11 2.28 2.12 และ
ป่าไม้เพื่อการอนุรักษ์ดินและน�้า ท�าให้มีความมุ่งมั่น 2.10 คะแนนตามล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบ
ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ว่า ประชาชนที่มีรายได้รวมของครัวเรือนต่างกันมีส่วน
มากกว่ากลุ่มที่มีพื้นที่ถือครองน้อย ร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกันอย่างมี
สมมติฐานที่ 7 ประชาชนที่มีจ�านวนสมาชิก ไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติ (F= 2.214; p-value = 0.086) ซึ่ง
ในครัวเรือนต่างกัน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร ไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้