Page 52 -
P. 52

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 50                        Thai J. For. 33 (1) : 47-56 (2014)




                             ส่วนที่ 3 ข้อมูลระดับการมีส่วนร่วม  และท�าการลงรหัส แล้ววิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม
                 ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของประชาชนที่อาศัยอยู่  ส�าเร็จรูปทางสถิติ โดยจ�าแนกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
                 รอบบริเวณป่าสงวนแห่งชาติดงระแนง อ�าเภอยางตลาด   การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์ข้อมูล
                 และอ�าเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์  เป็นค�าถามเกี่ยว  เชิงปริมาณ
                 กับตัวแปรตาม  ผู้ศึกษาใช้วิธีการตั้งค�าถามเป็นมาตรา     9. การให้ค่าคะแนนตัวแปรคาม คือการมีส่วน

                 วัดตามแบบของ Likert’s  Scale (พวงรัตน์, 2540) ซึ่ง  ร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของประชาชน ด�าเนิน
                 เป็นลักษณะค�าถามที่ให้ผู้ตอบประมาณค่าในการตอบ  การจัดแบ่งอันตรภาคชั้นของคะแนนการมีส่วนร่วมใน
                 ค�าถาม                                      การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ออกเป็น 3 ชั้น ดังต่อไปนี้

                          6.3  การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา            คะแนนสูงสุด - คะแนนต�่าสุด
                 (content validity) โดยน�าแบบสอบถามที่จัดท�าขึ้นไป  อันตรภาคชั้น  =   จ�านวนชั้น
                 เสนอต่อประธานกรรมการที่ปรึกษาและกรรมการร่วม              =   5 - 1
                                                                              3
                 เพื่อตรวจสอบและขอค�าแนะน�าในการปรับปรุงแก้ไข             =  1.33
                 ให้ตรงตามเนื้อหารวมถึงครอบคลุมวัตถุประสงค์ใน        เมื่อได้ค่าอันตรภาคชั้นแล้ว  สามารถก�าหนด

                 การศึกษามากที่สุดและสอดคล้องกับทฤษฎีเกี่ยวกับ  คะแนนระดับการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร
                 เรื่องที่ท�าการศึกษา                        ป่าไม้ของประชาชนดังนี้คือ 1.00-2.33, 2.34-3.67 และ
                          6.4  การทดสอบเครื่องมือ โดยการน�าแบบ  3.68-5.00 คะแนน ซึ่งหมายถึง ระดับการมีส่วนร่วมใน

                 สัมภาษณ์ไปทดสอบ (pre-test) จ�านวน 30 ชุด ซึ่งเป็น  การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของประชาชนอยู่ในระดับ
                 พื้นที่ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับพื้นที่ที่ท�าการศึกษา น�า  น้อย ปานกลาง และมาก ตามล�าดับ
                 ผลที่ได้มาตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือด้วยวิธีการ     10. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา (descriptive
                 ของ Cronbach เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) ของ  analysis) ส�าหรับข้อมูลทั่วไปด้านเศรษฐกิจสังคม ความรู้
                 ค�าถาม ตัวแปรตาม (พวงรัตน์, 2540) ค่า Alpha ที่ได้  เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามวัตถุประสงค์

                 เท่ากับ 0.8184 การทดสอบความน่าเชื่อถือของค�าถาม   ข้อที่ 1 เป็นการรวบรวมข้อมูลที่ท�าการศึกษาวิจัยใน
                 ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ใช้สูตรของ   รูปสถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
                 Kuder-Richardson 20: KR 20 (ล้วน และอังคณา, 2524)   ค่าสูงสุด และค่าต�่าสุด โดยน�าเสนอในรูปแบบตาราง

                 ได้ค่าความน่าเชื่อถือเท่ากับ 0.9696                11. การทดสอบสมมติฐานเป็นการศึกษา
                        7.  วิธีการเก็บข้อมูล โดยน�าแบบสอบถามไป  เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่น
                 สัมภาษณ์กับหัวหน้าครัวเรือนหรือผู้แทนจ�านวน 386   ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ระหว่างกลุ่มของตัวแปร
                 ราย ของครัวเรือนตัวอย่างในหมู่บ้านเป้าหมาย ตาม  อิสระทางสังคมและเศรษฐกิจแต่ละตัว โดยใช้วิธีสถิติ
                 จ�านวนครัวเรือนที่ค�านวณได้ โดยใช้วิธีการสุ่มแบบ  ค่าทดสอบที (t-test) ส�าหรับตัวแปรอิสระที่แบ่งออกเป็น

                 แบ่งชั้นภูมิ (stratified random sampling)   2 กลุ่ม และใช้วิธีสถิติค่าทดสอบเอฟ (F-test) กับตัวแปร
                        8. การประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์  อิสระที่แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มขึ้นไป โดยก�าหนดระดับ
                 ข้อมูล เป็นการน�าข้อมูลที่รวบรวมได้ซึ่งตรวจสอบความ  นัยส�าคัญทางสถิติไว้ที่ 0.05 ทั้งนี้การวิเคราะห์ข้อมูลใช้

                 เรียบร้อยแล้วมาจัดระบบข้อมูล เพื่อเตรียมวิเคราะห์ได้  ไมโครคอมพิวเตอร์และโปรแกรมส�าเร็จรูปทางสถิติ
                 น�าแบบสอบถามทุกฉบับ มาตรวจสอบความถูกต้อง
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57