Page 47 -
P. 47
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 36-46 (2557) 45
์
ความคลาดเคลื่อนของวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ตัวอย่างแบบ SRS มีประสิทธิภาพในการส�ารวจต๋าว
ACS ในการส�ารวจของป่า 3 ชนิด คือ หวาย ต๋าว และแฮ่ม และแฮ่ม มากกว่า วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS
มีค่าความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุดเท่ากับร้อยละ 12.00,
23.06 และ 23.60 ตามล�าดับ ส่วนวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ เอกสารและสิ่งอ้างอิง
SRS มีค่าความคลาดเคลื่อน เท่ากับร้อยละ 82.00, 109.00 ทวี แก้วละเอียด และสมศักดิ์ สุขวงศ์. 2518. การทดลอง
และ 95.00 ตามล�าดับ ส�ารวจนับไม้แบบ Point ในป่าเต็งรัง. รายงาน
สัมประสิทธิ์การแปรผันของวิธีการสุ่มตัวอย่าง วนศาสตร์วิจัย เล่มที่ 34. คณะวนศาสตร์
แบบ ACS ในการส�ารวจของป่า 3 ชนิด คือ หวาย ต๋าว
และแฮ่ม มีสัมประสิทธิ์การแปรผันเท่ากับร้อยละ 53.45, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
167.49 และ 107.10 ตามล�าดับ ส่วนวิธีการสุ่มตัวอย่าง วิชาญ โชควิวัฒน. 2546. กรอบแนวคิดของแผนแบบ
แบบ SRS มีค่าสัมประสิทธิ์การแปรผันเท่ากับร้อยละ การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มปรับ. วิทยานิพนธ์
76.40, 82.97 และ 63.56 ตามล�าดับ ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ขนาดแปลงตัวอย่างที่ใช้ส�าหรับส�ารวจหวาย สถิตย์ วัชรกิตติ. 2525. การส�ารวจทรัพยากรป่าไม้.
วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS ขนาด 25 แปลง และ วิธีการ ภาควิชาการจัดการป่าไม้ คณะวนศาสตร์
สุ่มตัวอย่างแบบ SRS ขนาด 192 ใช้ในการส�ารวจต๋าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS ขนาด 184 แปลง และวิธี สุรินทร์ นิยมางกูร. 2541. เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง. ภาค
การสุ่มตัวอย่างแบบ SRS ขนาด 219 แปลง ใช้ในการ วิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ส�ารวจแฮ่ม วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS และวิธีการ เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สุ่มตัวอย่างแบบ SRS ขนาด 97 แปลง และ 158 แปลง อุทิศ กุฎอินทร์. 2541. นิเวศวิทยาพื้นฐานเพื่อการ
ตามล�าดับ แต่ขนาดแปลงตัวอย่างบางแปลงของแต่ละ ป่าไม้. เอกสารประกอบการสอน. ภาควิชา
วิธีที่มีขนาดแปลงมากกว่าจ�านวนแปลงตัวอย่างที่วาง ชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ขั้นต้น 100 แปลง ซึ่งมีผลต่อจ�านวนแปลงตัวอย่างที่ เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ก�าหนดขั้นต้น Dechaineux, R., S. Pamsoupha, V. Chanthanivong,
ประสิทธิภาพสัมพันธ์ (relative efficiency) S. Chanthavongsa, and Vongdeune. 1998.
ระหว่างวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ SRS กับแบบ ACS ใน Nongthe Village Profile, Nakhornphaeng
การประเมินปริมาณหวาย ต๋าว และแฮ่ม พบว่า RE > 1 District, Salavan Province. IUCN-NTFP
แสดงว่าตัวประมาณค่าที่ดัดแปลงมาจากตัวประมาณของ Project. Vientiane, Lao PDR.
Horvitz-Thompson ที่มีการสุ่มตัวอย่างขั้นต้นแบบง่าย Foppes, J. and S. Ketphanh. 2000a. Forest extraction or
ภายใต้แผนการสุ่มแบบกลุ่มปรับ มีประสิทธิภาพในแง่ cultivation? Local solutions from Lao PDR.
ของความแม่นย�ามากกว่าตัวประมาณค่าเฉลี่ยของแผน Paper for the workshop on the evolution
แบบการสุ่มตัวอย่างแบบ SRS and sustainability of “intermediate systems”
ประสิทธิภาพ (efficiency) ระหว่างวิธีการสุ่ม of forest management, FOREASIA, 28
ตัวอย่างแบบ SRS กับวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS ใน June-1 July 2000, Lofoten, Norway.
การประเมินปริมาณของป่า 3 ชนิด พบว่า วิธีการสุ่ม ________. 2000b. No More Timber, More Non-
ตัวอย่างแบบ ACS มีประสิทธิภาพในการส�ารวจหวาย Timber? Discussion Paper. IUCN-NTFP
มากกว่า วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ SRS และวิธีการสุ่ม Project. Vientiane, Lao PDR.