Page 50 -
P. 50
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
48 Thai J. For. 33 (1) : 47-56 (2014)
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะเศรษฐกิจและสังคม ระดับการมีส่วนร่วม ของประชาชน
และปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของประชาชนที่อาศัยอยู่รอบบริเวณพื้นที่ป่าสงวน
แห่งชาติป่าดงระแนง อ�าเภอยางตลาด และอ�าเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ ศึกษาตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2555
ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 รวมระยะเวลา 8 เดือน การเก็บตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถาม สัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือน
ตัวอย่าง จ�านวน 386 ครัวเรือน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต�่าสุด ค่าทดสอบ t และค่าทดสอบ F วิเคราะห์ข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์และโปรแกรมส�าเร็จรูป
ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นผู้ชายมีอายุ 51-60 ปี มีการศึกษาระดับประถม
ศึกษา/ต�่ากว่า ระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐานเฉลี่ย 38 ปี มีอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลักและเป็นอาชีพรอง ขนาด
ที่ดินที่ถือครองเฉลี่ย 13.69 ไร่ มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.37 คน การได้รับประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้
อยู่ในระดับปานกลาง มีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้อยู่ในระดับมาก ประชาชนมีส่วนร่วมในการ
อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.53 คะแนน ส�าหรับปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้บริเวณพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงระแนง ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา
อาชีพรอง ขนาดพื้นที่ถือครอง จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน จ�านวนแรงงานในครัวเรือน ระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐาน
การเป็นสมาชิกเครือข่าย การรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับป่าไม้ การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
และการได้รับประโยชน์จากป่าไม้
ค�าส�าคัญ: การมีส่วนร่วมของประชาชน การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงระแนง จังหวัดกาฬสินธุ์
ค�าน�า LANDSAT-5 ในปี พ.ศ. 2551 ปรากฏว่าเหลือพื้นที่
ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติอันส�าคัญยิ่ง ป่าไม้จ�านวน 107.24 ล้านไร่ หรือร้อยละ 33.44 ของ
ชนิดหนึ่งของโลก มีค่ามหาศาลต่อมวลมนุษยชาติและ พื้นที่ประเทศ (กรมป่าไม้, 2551) การลดลงของพื้นที่ป่าไม้
ของประเทศ ท�าให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรอื่นๆ
สิ่งที่มีชีวิตอื่นๆ คือ ป่าไม้ให้ปัจจัยสี่ อีกทั้งยังมีความ และยังส่งผลให้ประชาชนชนบทที่พึ่งพิงทรัพยากร
ส�าคัญอย่างมากในแง่ของการอนุรักษ์ดิน น�้า และ ป่าไม้ มีการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิด
สัตว์ป่า ถึงแม้ว่าป่าไม้จะเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ ความขัดแย้งระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับประชาชน
สามารถทดแทนได้เองตามธรรมชาติ ถ้าหากมีการจัดการ ส�าหรับการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ จะท�าให้ทรัพยากรป่าไม้ที่มี กับทรัพยากรป่าไม้ จ�าเป็นต้องด�าเนินกิจกรรมหลาย
อยู่จ�านวนมากเพียงใดก็ไม่สามารถตอบสนองต่อความ อย่างได้แก่ การอนุรักษ์และการปราบปรามป้องกันรักษา
ต้องการในด้านต่างๆ ได้อย่างเพียงพอ (นิวัติ, 2541) ป่า การส่งเสริมการปลูกป่า การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ
จากอดีตถึงปัจจุบันพื้นที่ป่าไม้ของประเทศไทย และการสร้างจิตส�านึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
ลดจ�านวนลงอย่างรวดเร็ว ประเทศไทยมีพื้นที่ทั้งหมด ในปัจจุบันการวางแผนจัดการทรัพยากรป่าไม้ จะมุ่งเน้น
320.69 ล้านไร่ ในปี พ.ศ. 2504 เคยมีพื้นที่ป่าไม้ ให้ประชาชนในท้องถิ่นซึ่งถือเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับ
170.93 ล้านไร่ หรือร้อยละ 53.30 ของพื้นที่ประเทศ ทรัพยากรป่าไม้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
และข้อมูลที่ได้จากการแปลตีความภาพถ่ายดาวเทียม ด้านทรัพยากรป่าไม้ด้วยตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับ