Page 51 -
P. 51
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 47-56 (2557) 49
์
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 โดยให้ อุปกรณ์และวิธีการ
ความส�าคัญกับสิทธิมนุษยชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ 1. การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ โดยการศึกษา
จัดการทรัพยากรธรรมชาติ (ส�านักงานเลขาธิการ สภา แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของ
ผู้แทนราษฎร, 2550) ประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ความรู้เกี่ยวกับ
ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงระแนง ได้รับการประกาศ ทรัพยากรป่าไม้ ค้นคว้าเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ให้เป็นป่าสงวนแห่งชาติตามราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ เพื่อก�าหนดกรอบแนวคิดและขอบเขตการศึกษา
4 กันยายน พ.ศ. 2499 ครอบคลุมพื้นที่ต�าบลคลองขาม 2. การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ โดยการรวบรวม
ต�าบลบัวบาน ต�าบลเขาพระนอน ต�าบลโนนสูง และ ข้อมูลเกี่ยวกับพื้นที่ที่ท�าการศึกษา เช่นประวัติความเป็น
ต�าบลอิตื้อ อ�าเภอยางตลาด ต�าบลกุดโดน ต�าบลค�าเหมือด มา อาณาเขตพื้นที่ท�าการศึกษา ลักษณะภูมิประเทศ
แก้ว และต�าบลโนนสะอาด อ�าเภอห้วยเม็ก จังหวัด ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม ชุมชนบริเวณพื้นที่ป่า
กาฬสินธุ์ มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 111 ตารางกิโลเมตร หรือ สงวนแห่งชาติป่าดงระแนง อ�าเภอยางตลาดและอ�าเภอ
เท่ากับ 69,375 ไร่ ผลพวงจากการพัฒนาของจังหวัด ห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์
ในด้านต่างๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคม ท�าให้พื้นที่ 3. ก�าหนดประชากรเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่าง
ป่าไม้มีปริมาณลดลงอย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบันมีพื้นที่ ซึ่งเป็นหัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทน
ป่าไม้เหลืออยู่ประมาณ 49,613 ไร่ ซึ่งประกอบด้วย 4. การก�าหนดกลุ่มประชากรตัวอย่าง จาก
พื้นที่สวนป่าในสังกัดกรมป่าไม้ เนื้อที่ 21,106 ไร่ สวนป่า จ�านวนครัวเรือนของประชาชน โดยใช้สูตรของ Yamane
ในสังกัดกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช เนื้อที่ (1973) ก�าหนดความเชื่อมั่น 95% หรือความคลาดเคลื่อน
16,584 ไร่ พื้นที่ที่อนุญาตให้เข้าท�าประโยชน์ในเขต ในการสุ่มตัวอย่างที่ 0.05 ได้จ�านวนตัวอย่าง 386 ครัว
ปรับปรุงป่าสงวนแห่งชาติ (สทก.) เนื้อที่ 4,305 ไร่ พื้นที่ เรือน
แปลงควบคุม เนื้อที่ 7,618 ไร่ พื้นที่ที่หน่วยทหารพัฒนา 5. การสุ่มตัวอย่างให้เกิดการกระจายใน
เคลื่อนที่ 24 ขอใช้ประโยชน์ เนื้อที่ 256 ไร่ พื้นที่โฉนด แต่ละหมู่บ้านตามสัดส่วนที่เหมาะสมโดยใช้สูตรของ
ที่ดิน และ น.ส.3 เนื้อที่ 1,568 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ ประมาณ สุบงกช (2526)
1,375 ไร่ (ส�านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 ขอนแก่น, 6. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวม
2555) ข้อมูล มีขั้นตอนดังนี้
6.1 นิยามหรือให้ความหมายตัวแปรอิสระ
ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาลักษณะเศรษฐกิจ ตัวแปรตาม กรอบแนวคิดของงานวิจัยที่ก�าหนดขึ้นจาก
สังคม ความรู้ความเข้าใจ และปัจจัยที่มีผลต่อการมี การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานที่เกี่ยวข้อง
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ บริเวณพื้นที่ 6.2 สร้างแบบสอบถาม โดยครอบคลุม
ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงระแนง เพื่อให้ทราบถึงสภาพ ตามวัตถุประสงค์ และตัวแปรทุกตัวที่ศึกษา ก�าหนด
ปัญหาและแนวความคิดของประชาชน เพื่อน�าไปใช้ ไว้ตามกรอบแนวคิด ประกอบกับข้อมูลที่ได้จากการ
เป็นแนวทางในการก�าหนดวางแผนจัดการทรัพยากร ตรวจเอกสาร โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
ป่าไม้ป่าดงระแนงให้มีประสิทธิภาพ โดยการจัดการ ส่วนที่ 1 ข้อมูลลักษณะทางเศรษฐกิจ
อย่างมีส่วนร่วมของประชาชน ในการอนุรักษ์ทรัพยากร สังคม และข้อมูลทั่วไปของประชาชนตัวอย่าง
ป่าไม้ในพื้นที่ อันจะเป็นการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ ส่วนที่ 2 ความรู้ ความเข้าใจของ
ชีวิตของประชาชนในพื้นที่ให้ดีขึ้นต่อไป ประชาชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้