Page 46 -
P. 46

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 44                        Thai J. For. 33 (1) : 36-46 (2014)




                 ความคลาดเคลื่อนร้อยละ 82.00 ในการส�ารวจต๋าวพบว่า   ค่าที่ดัดแปลงมาจากตัวประมาณของ Horvitz-Thompson
                 วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS มีค่าความคลาดเคลื่อนน้อย  ที่มีการสุ่มตัวอย่างขั้นต้น ภายใต้แผนการสุ่มแบบ
                 ที่สุดร้อยละ 23.06 และ SRS มีค่าความคลาดเคลื่อนร้อยละ   กลุ่มปรับ มีประสิทธิภาพในแง่ของความแม่นย�ามาก
                 109.00 ในการส�ารวจแฮ่มพบว่า วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ   กว่าตัวประมาณค่าเฉลี่ยของแผนแบบการสุ่มตัวอย่าง
                 ACS มีค่าความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุดร้อยละ 23.60 และ   แบบ SRS
                 SRS มีค่าความคลาดเคลื่อนร้อยละ 95.00                การเปรียบเทียบประสิทธิภาพ (efficiency) ของ
                        การเปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์ความผันแปร   การสุ่มตัวอย่างแบบ SRS กับการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS
                 ในการส�ารวจหวายพบว่า วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS   ในการส�ารวจหวาย พบว่าการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS มี
                 มีค่าสัมประสิทธิ์ความผันแปรน้อยที่สุดร้อยละ 53.45   ค่าสัมประสิทธิ์การแปรผันมากกว่าการสุ่มตัวอย่างแบบ

                 และ SRS มีค่าสัมประสิทธิ์ความผันแปรร้อยละ  76.40   SRS คือ 204.31 ต่อ 100 และใช้ในการส�ารวจต๋าว และ
                 ในการส�ารวจต๋าวพบว่า วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ SRS มีค่า  แฮ่ม พบว่าการสุ่มตัวอย่าง ACS มีค่าสัมประสิทธิ์การ
                 สัมประสิทธิ์ความผันแปรน้อยที่สุดร้อยละ 82.97 และ   แปรผันน้อยกว่าการสุ่มตัวอย่างแบบ SRS คือ  24.54
                 ACS มีค่าสัมประสิทธิ์ความผันแปรร้อยละ 167.49 ใน  ต่อ 100 และ 35.32 ต่อ 100 ตามล�าดับ เมื่อพิจารณาแล้ว
                 การส�ารวจแฮ่มพบว่า วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ SRS มีค่า  พบว่า วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS มีประสิทธิภาพใน
                 สัมประสิทธิ์ความผันแปรน้อยที่สุดร้อยละ 63.56  และ   การส�ารวจหวาย และวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ SRS  มี
                 ACS มีค่าสัมประสิทธิ์ความผันแปรร้อยละ 107.10   ประสิทธิภาพในการส�ารวจต๋าว และแฮ่ม

                        การเปรียบเทียบขนาดแปลงตัวอย่างที่ใช้ส�าหรับ
                 ส�ารวจหวาย วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS ขนาด 25 แปลง           สรุป
                 และ SRS ขนาด 192 แปลง แต่ขนาดแปลงตัวอย่าง
                 ดังกล่าว มีจ�านวนมากกว่าจ�านวนแปลงตัวอย่างที่วาง     ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ ปริมาณความหนาแน่น
                 ขั้นต้น 100 แปลง ซึ่งมีผลต่อจ�านวนแปลงตัวอย่างที่  เฉลี่ย ในการส�ารวจหวาย  พบว่าวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ
                 ก�าหนดขั้นต้น ใช้ในการส�ารวจต๋าว วิธีการสุ่มตัวอย่าง  ACS มีความหนาแน่นเท่ากับ 36.44 กอต่อเฮกแตร์ หรือ
                 แบบ ACS ขนาด 184 แปลง และ SRS ขนาด 219 แปลง   176.69 ล�าต่อเฮกแตร์ และ แบบ SRS เท่ากับ 36.50 กอ
                 แต่ขนาดแปลงตัวอย่างทั้ง 2 มีจ�านวนมากกว่าจ�านวน  ต่อเฮกแตร์ หรือ 171.13 ล�าต่อเฮกแตร์ ใช้ในการส�ารวจต๋าว
                 แปลงตัวอย่างที่วางขั้นต้น 100 แปลง ซึ่งมีผลต่อจ�านวน  พบว่าวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS มีความหนาแน่น

                 แปลงตัวอย่างที่ก�าหนดขั้นต้น ใช้ในการส�ารวจแฮ่ม  วิธี  เท่ากับ 37.50 กอต่อเฮกแตร์ หรือ 164.69 ล�าต่อเฮกแตร์
                 การสุ่มตัวอย่างแบบ ACS และ SRS ขนาด 97 แปลง และ   และแบบ SRS เท่ากับ 35.50 กอต่อเฮกแตร์ หรือ 165.50
                 158 แปลง ตามล�าดับ แต่ขนาดแปลงตัวอย่างดังกล่าว มี  ล�าต่อเฮกแตร์ และใช้ในการส�ารวจแฮ่ม พบว่าวิธีการ
                 จ�านวนมากกว่าจ�านวนแปลงตัวอย่างที่วางขั้นต้น 100   สุ่มตัวอย่างแบบ ACS มีความหนาแน่นเท่ากับ 38.81 กอ
                 แปลง ซึ่งมีผลต่อจ�านวนแปลงตัวอย่างที่ก�าหนดขั้นต้น  ต่อเฮกแตร์ หรือ 214.31 ล�าต่อเฮกแตร์ และ แบบ SRS
                        การเปรียบเทียบประสิทธิภาพสัมพันธ์ (relative   เท่ากับ 38.69 กอต่อเฮกแตร์ หรือ 203.06 ล�าต่อเฮกแตร์
                 efficiency) ของการสุ่มตัวอย่างแบบ SRS กับการสุ่ม     ความแปรปรวนของวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ

                 ตัวอย่างแบบ ACS ในการประเมินปริมาณของป่า 3 ชนิด   ACS ในการส�ารวจของป่า 3 ชนิด คือ หวาย ต๋าว และแฮ่ม
                 ได้แก่ หวาย ต๋าว และแฮ่ม ผลการค�านวณพบว่า การใช้  มีค่าความแปรปรวนน้อยที่สุดเท่ากับ 1.46, 5.31 และ
                 แผนการสุ่มตัวอย่างแบบ ACS ในการประเมินปริมาณ  5.56 ตามล�าดับ ส่วนวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ SRS มีค่า
                 หวาย ต๋าว และแฮ่ม พบว่า RE> 1 แสดงว่าตัวประมาณ  ความแปรปรวน 42.77, 47.18 และ 41.73 ตามล�าดับ
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51