Page 41 -
P. 41

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 33 (1) : 36-46 (2557)                     39
                                                         ์



                 การเก็บข้อมูล                                       ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (sample mean) เป็นค่าที่
                        การเก็บข้อมูลในการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย และ  แสดงเฉลี่ยต่อหน่วยตัวอย่างที่เป็นตัวแทนประชากร
                 การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มปรับ ได้ก�าหนดเนื้อที่ท�าการ  นั้นๆ แทนด้วยสัญลักษณ์ “y” และใช้เป็นตัวประมาณ
                 ส�ารวจร้อยละ1.25 ของพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 394 เฮกแตร์   ค่าเฉลี่ยประชากร ( )   n

                 การวางแปลงตัวอย่างเพื่อเก็บข้อมูลในการส�ารวจแบบ     y SRS   =    1  y   i        (3)
                                                                             n i=1
                 กลุ่มปรับ ได้สร้างตารางกริด (grid) ขนาด 20 × 25 เมตร      ค่าความแปรปรวนของตัวอย่าง (sample
                 ลงในแผนที่ศึกษา จ�านวนทั้งหมด 7,880 ตารางกริด   variance) เป็นค่าที่แสดงการแปรผันระหว่างค่าสังเกต
                 ก�าหนดหมายเลขใส่ตารางกริดทั้งหมดแล้วจับฉลากเอา  หรือข้อมูลประจ�าหน่วยตัวอย่างที่ถูกสุ่มเลือกเป็น
                 หมายเลขแปลงตัวอย่าง เมื่อจับฉลากได้เลขใดก็บันทึก  ตัวอย่างแทนด้วยสัญลักษณ์ “S ” และใช้เป็นตัว
                                                                                       2
                 ไว้ และจับฉลากเอาหมายเลขต่อไปจนครบ จ�านวน 100   ประมาณค่าความแปรปรวนประชากร (σ )
                                                                                           2
                 แปลง ตามการก�าหนด และฉลากที่จับไม่ต้องใส่คืนอีก      2       n  (y–y) 2
                                                                                  i
                 ซึ่งเรียกวิธีการเช่นนี้ว่า Sampling without replacement      S SRS   =    i=1  n–1     (4)
                 (สถิตย์, 2525)                                      ค่าความคลาดเคลื่อนของตัวอย่าง (Sample
                        การระบุกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มปรับจะประกอบ  error) ค่าความคลาดเคลื่อนของตัวอย่าง หมายถึง การ
                 ไปด้วย แปลงตัวอย่างแรก และแปลงตัวอย่างอื่นๆ ที่อยู่  กระจายของค่าเฉลี่ย โดยวัดเป็นค่าความแปรปรวน

                 รอบๆ แปลงตัวอย่างแรกที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ก�าหนด   (Variance) หรือถอดรากที่สองของค่าความแปรปรวน
                 ไว้  กล่าวคือแปลงตัวอย่างแรกที่มีของป่าตามที่ต้องการ  เรียกว่า ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)
                 ก็จะขยายแปลงตัวอย่างนั้นออกไปแต่ละด้านของแปลง  ของค่าเฉลี่ย
                 ตัวอย่างแรก เช่น ด้านบน ด้านล่าง ด้านซ้าย และด้าน     ค่าความคลาดเคลื่อน ของตัวอย่างดังนี้
                 ขวา และถ้าแปลงตัวอย่างแรกไม่มีของป่าแปลงตัวอย่าง                sd               (5)

                 อื่นๆ ที่อยู่รอบๆ ก็จะไม่ได้ขยายออก                 se SRS   =    √n
                                                                     ค่าสัมประสิทธิ์ความผันแปรของตัวอย่าง
                 การวิเคราะห์ข้อมูล                          (Sample coefficient of variation) ถ้าต้องการเปรียบเทียบ
                        การค�านวณหาปริมาณของป่าแต่ละชนิดที่  ความผันแปรของค่าสังเกตระหว่างตัวอย่างหลายๆ ชุด
                 ท�าการส�ารวจ หวาย ต๋าว และแฮ่ม หรือค่าความหนาแน่น  ก็สามารถใช้ค่าอัตราส่วนระหว่างค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                 ของของป่า ค�านวณจากสมการของ อุทิศ (2541)    กับค่าเฉลี่ยของตัวอย่างแต่ละชุด ค่าที่ได้จะเป็นค่าคงที่

                 ความหนาแน่น =  จ�านวนของป่าชนิดหนึ่งในแปลงตัวอย่างทั้งหมด   (1)  เรียกว่า “ค่าสัมประสิทธิ์ความผันแปรของตัวอย่าง”
                               พื้นที่รวมของแปลงตัวอย่างทั้งหมด  แทนสัญลักษณ์ด้วย “CV”

                        การค�านวณหาความถี่ของของป่าคือ ค่าความ       ค่าสัมประสิทธิ์ความผันแปรของตัวอย่างดังนี้
                 บ่อยครั้งของของป่าชนิดหนึ่งชนิดใดที่ปรากฏในแปลง     CV     =    sd  × 100        (6)
                 ตัวอย่าง นิยมวัดกันเป็นเปอร์เซ็นต์ ค่าความถี่เป็นการ  SRS       y

                 บอกถึงการกระจายของชนิดของป่าในพื้นที่ ค�านวณ        ขนาดตัวอย่างหรือจ�านวนตัวอย่าง ในการ
                 จากสมการของ อุทิศ (2541)                    ศึกษาครั้งนี้ได้ก�าหนดค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับ

                 ความถี่ (%)  =   จ�านวนแปลงที่พบของป่าชนิดหนึ่ง   ×100      (2)  ได้เท่ากับ 10 เปอร์เซ็นต์ และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ
                            จ�านวนแปลงตัวอย่างทั้งหมด        95 เปอร์เซ็นต์ (สุรินทร์, 2541)
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46