Page 36 -
P. 36
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
34 Thai J. For. 33 (1) : 28-35 (2014)
จะมีการผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ โดยจะท�าการอบ จ�าหน่าย ได้แก่ ไม่มีตลาดรองรับแน่นอน ซึ่งปัญหานี้
ไม้สักแปรรูปก่อนน�าไปผลิต ท�าให้สามารถควบคุม จะพบเฉพาะกับผู้ประกอบการรายใหม่ที่พึ่งเข้ามาท�า
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ได้ตามความต้องการของลูกค้า ธุรกิจร้อยละ 8.05 ขาดตัวแทนและคนกลางในการจัด
และผลิตภัณฑ์ที่ผลิตมีความหลากชนิด จึงสามารถขาย จ�าหน่าย ร้อยละ 3.36 และปัญหาจากการขนส่ง ร้อยละ
ผลิตภัณฑ์ไม้สักได้ในราคาที่สูงกว่าผู้ประกอบการรายเล็ก 2.01 และปัญหาเกี่ยวกับการส่งเสริมการตลาด ได้แก่
ผลิตภัณฑ์ไม้สักของผู้ประกอบการชนิดเดียวกันจะมี ขาดความรู้ทางด้านการส่งเสริมการขาย ร้อยละ 11.41
ความแตกต่างกันด้านลวดลาย การแกะสลัก และสีสัน และขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ ร้อยละ
ของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ประตูบานเดี่ยว ประตูบานคู่ประกบ 0.67 (ผู้ประกอบการตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
หน้าต่างศาลพระภูมิ และโต๊ะคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
3. อุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด จากการศึกษาพบ สรุป
ว่า ผู้ประกอบการรายใหม่ที่จะเข้ามาท�าธุรกิจผลิตภัณฑ์ จากการศึกษาด้านการผลิตและการตลาดของ
ไม้สักสามารถท�าได้ง่าย เนื่องจากผู้ประกอบการราย ผลิตภัณฑ์ไม้สักพบว่า ผู้ประกอบการประกอบธุรกิจเอง
ใหม่ใช้ต้นทุนน้อย ประมาณ 40,000-70,000 บาท ใน ร้อยละ 58.89 ที่เหลืออีก ร้อยละ 41.11 รับจ้างผลิต
การท�าธุรกิจ ธุรกิจมีก�าไรมากท�าให้ผู้ประกอบการราย ผู้ประกอบการมีอาชีพหลักท�าผลิตภัณฑ์ไม้สัก ร้อยละ
ใหม่ตัดสินใจที่จะเข้าสู่ธุรกิจมากขึ้น โดยผู้ประกอบ 63.24 ระยะเวลาเฉลี่ยในการด�าเนินกิจการ 11 ปี การ
การรายใหม่ส่วนใหญ่ใช้แรงงานตนเองในการท�างาน ผลิตผลิตภัณฑ์ไม้สักเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน
ท�าให้ไม่มีค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงานในช่วงแรก และ ร้อยละ 75.10 ปริมาณไม้สักที่ใช้เป็นวัตถุดิบทั้งหมด
การผลิตผลิตภัณฑ์ไม้สักในช่วงแรกจะผลิตและจ�าหน่าย 41,570 ลูกบาศก์เมตรต่อปี ไม้สักที่ใช้เป็นวัตถุดิบคือ
ให้กับผู้ประกอบการรายใหญ่ก่อน เมื่อท�าธุรกิจได้ ไม้สักแปรรูป เศษไม้ และปีกไม้สัก ผู้ประกอบการ
ประมาณ 1-2 ปี ผู้ประกอบการจะหาตลาดแหล่งใหม่ ร้อยละ 91.70 มีไม้สักที่ใช้เป็นวัตถุดิบเพียงพอต่อความ
โดยการไปเสนอขายผลิตภัณฑ์ไม้สักของตนเองตาม ต้องการ ผลิตภัณฑ์ไม้สักที่ผลิตได้มีทั้งหมด 45 ชนิด
ตลาดแหล่งใหม่ด้วยตนเอง จ�านวน 1,391,376 ชิ้นต่อปี โดยผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิต
ปัญหาด้านการตลาด มากที่สุดคือ หน้าต่าง และผลิตภัณฑ์ไม้สักที่มีการ
จากการศึกษาพบว่า ผู้ประกอบการมีปัญหา ผลิตน้อยสุดคือ ตู้กับข้าว เทคนิคการผลิตมี 2 รูปแบบ
เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้มี คือ 1) ท�าตามแบบดั้งเดิมที่เคยท�ากันมา และ 2) คิดค้น
ไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาด ซึ่งปัญหานี้จะ และพัฒนาขึ้นด้วยตนเอง ปัญหาการผลิตที่พบคือ 1)
เกิดขึ้นเป็นบางช่วงเวลาเท่านั้น เช่น ช่วงหลังจากอุทกภัย ปัญหาด้านเงินทุน ได้แก่ การขาดเงินทุนหมุนเวียน และ
ปี พ.ศ. 2554 ที่ผ่านมา ตลาดมีความต้องการผลิตภัณฑ์ ไม่มีเงินลงทุน 2) ปัญหาด้านแรงงาน ได้แก่ ขาดแคลน
ประเภท ประตูบานเดี่ยว และหน้าต่างเป็นจ�านวนมาก แรงงาน แรงงานขาดทักษะ และค่าจ้างแรงงานสูง และ
ท�าให้ผลิตภัณฑ์ไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด 3) ปัญหาด้านวัตถุดิบ ได้แก่ ราคาไม้สักเพิ่มสูงขึ้น ไม้
คิดเป็นร้อยละ 71.81 และรูปแบบของผลิตภัณฑ์ไม่ สักมีต�าหนิยากต่อการน�าไปใช้ ขาดแคลนไม้สัก และ
เป็นที่ต้องการของตลาดร้อยละ 8.72 ปัญหาเกี่ยวกับ กฎระเบียบของทางราชการ
ราคา ได้แก่ มีการขายตัดราคาระหว่างผู้ขาย ร้อยละ ส่วนประสมการตลาด พบว่า ผลิตภัณฑ์
43.62 ถูกพ่อค้าคนกลางกดราคา ร้อยละ 11.41 ราคา สามารถจ�าแนกผลิตภัณฑ์ตามวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
ของผลิตภัณฑ์ต�่าเกินไป ร้อยละ 4.03 และไม่สามารถ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ไม้แปรรูปเป็น
ก�าหนดราคาได้เอง ร้อยละ 2.01 ปัญหาเกี่ยวกับการจัด วัตถุดิบ มีจ�านวน 29 ชนิด และ 2) ผลิตภัณฑ์ที่ใช้เศษ