Page 31 -
P. 31
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 28-35 (2557) 29
์
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิต การตลาด และโครงสร้างตลาดของผลิตภัณฑ์ไม้สักใน
ต�าบลน�้าช�า อ�าเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบ
การจ�านวน 253 ราย ท�าการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าทางสถิติได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด และค่าต�่าสุด
จากการศึกษาพบว่า ผู้ประกอบการมีอาชีพหลักท�าผลิตภัณฑ์ไม้สัก ร้อยละ 63.24 ระยะเวลาเฉลี่ยในการด�าเนินกิจการ
11 ปี เป็นอุตสาหกรรมครัวเรือน ร้อยละ 75.10 ปริมาณไม้สักที่ใช้เป็นวัตถุดิบทั้งหมด 41,570 ลูกบาศก์เมตรต่อปี
ไม้สักที่ใช้เป็นวัตถุดิบ คือ ไม้สักแปรรูป เศษไม้ และปีกไม้ ปัญหาด้านการผลิต ได้แก่ ขาดเงินทุนหมุนเวียน ขาดแคลน
แรงงาน และวัตถุดิบราคาแพง ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ทั้งหมดมี จ�านวน 45 ชนิด จ�านวน 1,391,376 ชิ้นต่อปี โดยใช้ไม้
แปรรูปเป็นวัตถุดิบ มีจ�านวน 29 ชนิด และใช้เศษไม้ ปีกไม้เป็นวัตถุดิบ มีจ�านวน 16 ชนิด โครงสร้างตลาดเป็นแบบ
ผู้ขายน้อยราย ผลิตภัณฑ์มีความแตกต่างกันตรงที่ลวดลาย การแกะสลัก และการเพิ่มสีสันของผลิตภัณฑ์ ผู้ประกอบ
การรายใหม่สามารถเข้ามาท�าธุรกิจได้ง่าย เนื่องจากใช้ต้นทุนน้อย ปัญหาด้านการตลาด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ไม่เพียงพอ
ต่อความต้องการของตลาด มีการขายตัดราคาระหว่างผู้ขาย และขาดความรู้ทางด้านการส่งเสริมการขาย
ค�าส�าคัญ: การผลิต การตลาด ผลิตภัณฑ์ไม้สัก
ค�าน�า แพร่มีไม้สักขึ้นอยู่ตามธรรมชาติเป็นจ�านวนมาก ใน
ไม้สักเป็นไม้ที่มีชื่อเสียงรู้จักกันแพร่หลายทั่ว อดีตไม้สักสามารถสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านในพื้นที่
โลก เนื่องจากเป็นไม้ที่มีความแข็งแรง เนื้อไม้มีลวดลาย เป็นอย่างมาก จึงท�าให้ชาวบ้านในจังหวัดแพร่ส่วนใหญ่
ที่สวยงาม มีความทนทานตามธรรมชาติ และที่ส�าคัญ ประกอบอาชีพหลักเป็นช่างไม้ แต่ในปัจจุบันเมื่อไม้สัก
ก็คือ ไม้สักมีความทนทานต่อปลวก เชื้อรา และเห็ด ตามธรรมชาติไม่สามารถตัดฟันออกมาใช้ประโยชน์ได้
ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ไม้สักสามารถน�ามาใช้ประโยชน์ แล้ว ชาวบ้านส่วนใหญ่จึงหันไปประกอบอาชีพอื่นๆ
ได้หลายอย่าง เช่น ใช้ในการสร้างบ้าน ท�าเฟอร์นิเจอร์ แทนแต่ก็ยังมีชาวบ้านส่วนหนึ่งในต�าบลน�้าช�า อ�าเภอ
และแกะสลัก เป็นต้น จึงท�าให้ไม้สักเป็นที่นิยมใช้ ใน สูงเม่น จังหวัดแพร่ ที่ยังประกอบธุรกิจด้านการผลิต
อดีตไม้สักค่อนข้างจะหาง่ายและราคาไม่แพง ชาวบ้าน ผลิตภัณฑ์ไม้สัก โดยใช้ไม้สักจากสวนป่าเป็นวัตถุดิบ
ทั่วไปสามารถน�าไม้สักสร้างบ้านได้ทั้งหลัง ปัจจุบันไม้สัก และมีปริมาณความต้องการใช้ไม้สักในแต่ละปีเป็น
ในป่าธรรมชาติก�าลังจะหมดไป เพราะมีการลักลอบ จ�านวนมาก ซึ่งสอดคล้องกับปริมาณความต้องการใช้
ตัดไม้สักเป็นจ�านวนมาก (โชคชัย, 2536) ดังนั้นไม้สัก ไม้สักของผู้บริโภคโดยทั่วไปที่ยังมีอยู่มากเช่นกัน
ที่น�ามาใช้ประโยชน์ในปัจจุบันส่วนใหญ่จึงเป็นไม้สัก ดังนั้นจึงท�าให้มีโรงงานที่ใช้ไม้สักเป็นวัตถุดิบในหมู่บ้าน
จากสวนป่าขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.) ต่างๆ ของต�าบลน�้าช�า อ�าเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่เพิ่มขึ้น
และสวนป่าของเอกชน ถึงแม้ว่าไม้สักจากสวนป่าอาจจะ เมื่อมีผู้ผลิตมากรายจึงท�าให้เกิดปัญหาต่างๆ ที่ตามมา
ไม่มีลวดลายที่สวยงามเท่ากับไม้สักตามธรรมชาติแต่ก็ เช่น ปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ ปัญหาคุณภาพของ
มีความแข็งแรงทนทานเหมือนกัน (โชคชัย, 2536) และ ผลิตภัณฑ์ และปัญหาด้านราคาของผลิตภัณฑ์ เป็นต้น
สามารถใช้ทดแทนไม้สักตามธรรมชาติได้ ดังนั้นการศึกษาวิจัยเรื่องการผลิตและการตลาดของ
ไม้สักเป็นไม้เศรษฐกิจที่มีความส�าคัญของ ผลิตภัณฑ์ไม้สักในครั้งนี้จึงสามารถน�าไปใช้ก�าหนด
จังหวัดแพร่มาเป็นระยะเวลายาวนานเนื่องจากจังหวัด วิธีการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ทางด้านการผลิต