Page 32 -
P. 32
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 Thai J. For. 33 (1) : 28-35 (2014)
และการตลาดที่เกิดขึ้น ตลอดจนเป็นแนวทางในการ การค�านวณหาจ�านวนตัวอย่างของผู้ประกอบ
วางนโยบาย สนับสนุนและส่งเสริมธุรกิจผลิตภัณฑ์ การใช้สูตรการหาขนาดตัวอย่างที่เหมาะสมของ Yamane
ไม้สัก รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลในการประชาสัมพันธ์ธุรกิจ (1973) โดยก�าหนดให้มีค่าความคลาดเคลื่อนจากการสุ่ม
ดังกล่าวของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป ร้อยละ 5 จากจ�านวนผู้ประกอบการทั้งหมด จ�านวน
ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 686 ราย (องค์การบริหารส่วนต�าบลน�้าช�า, 2548) ได้
การผลิต การตลาด และโครงสร้างตลาดของผลิตภัณฑ์ ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา จ�านวน 253 ราย
ไม้สัก แล้วค�านวณหาจ�านวนตัวอย่างของผู้ประกอบการแต่ละ
หมู่บ้าน โดยใช้สูตรการกระจายตามสัดส่วน (สุบงกช,
นิยามศัพท์ 2526) ได้จ�านวนตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในหมู่บ้าน
โรงงานอุตสาหกรรมหมายถึง โรงงานที่น�า ต่างๆ ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านนาตม จ�านวน 23 ราย หมู่ที่ 2
ไม้สักที่ผ่านการแปรรูปแล้ว เศษไม้ และปีกไม้ มาผลิต บ้านน�้าช�า จ�านวน 8 ราย หมู่ที่ 3 บ้านบวกโป่ง จ�านวน
เป็นผลิตภัณฑ์ไม้สักชนิดต่างๆ โดยใช้เครื่องจักรที่มี 20 ราย หมู่ที่ 4 บ้านบวกโป่ง จ�านวน 31 ราย หมู่ที่ 5
ก�าลังม้าตั้งแต่ 5 แรงม้า บ้านร่องเสี้ยว จ�านวน 12 ราย หมู่ที่ 6 บ้านร่องแดง จ�านวน
อุตสาหกรรมในครัวเรือน หมายถึง การประกอบ 21 ราย หมู่ที่ 8 บ้านดอนแก้ว จ�านวน 16 ราย หมู่ที่ 9
กิจการในครัวเรือนที่น�าไม้สักที่ผ่านการแปรรูปแล้วรวม บ้านบวกโป่ง จ�านวน 13 ราย หมู่ที่ 10 บ้านบวกโป่ง
ทั้ง เศษไม้ และปีกไม้มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ไม้สักชนิด จ�านวน 44 ราย หมู่ที่ 11 บ้านบวกโป่ง จ�านวน 28 ราย
ต่างๆ โดยใช้เครื่องจักรที่มีก�าลังม้าน้อยกว่า 5 แรงม้า หมู่ที่ 12 บ้านร่องเสี้ยว จ�านวน 8 ราย หมู่ที่ 13 บ้านร่องแค
ผลิตภัณฑ์ไม้สัก หมายถึง เฟอร์นิเจอร์ หรือ จ�านวน 4 ราย หมู่ที่ 14 บ้านดอนแก้ว จ�านวน 14 ราย
สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เช่น เครื่องเรือน เครื่องใช้ และเครื่อง และหมู่ที่ 15 บ้านน�้าช�า 0จ�านวน 11 ราย
ประดับบ้าน ที่ท�ามาจากไม้สักที่ผ่านการแปรรูปแล้ว
รวมทั้ง เศษไม้ และปีกไม้ การวิเคราะห์ข้อมูล
เมื่อเก็บข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์เสร็จแล้ว
อุปกรณ์และวิธีการ ท�าการตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล
พร้อมทั้งน�าข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ที่ได้มาลงรหัส
พื้นที่ศึกษา และป้อนข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ เพื่อท�าการวิเคราะห์
พื้นที่ต�าบลน�้าช�า อ�าเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ข้อมูลดังต่อไปนี้
1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการผลิต ได้แก่ ข้อมูล
การเก็บข้อมูล ทั่วไปของผู้ประกอบการ ปริมาณวัตถุดิบที่ใช้การผลิต
ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย ข้อมูล การจ้างแรงงาน กระบวนการผลิต เทคนิคการผลิต
ปฐมภูมิ (primary data) เป็นข้อมูลที่ได้จากการใช้แบบ ปริมาณการผลิต และปัญหาทางด้านการผลิต ท�าการ
สัมภาษณ์ที่จัดท�าขึ้น ทั้งหมดจ�านวน 253 ชุด สัมภาษณ์ วิเคราะห์โดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย
ผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์ไม้สัก ที่อยู่ในต�าบลน�้าช�า 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการตลาด โดย
อ�าเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ และข้อมูลทุติยภูมิ (secondary การวิเคราะห์ส่วนประสมการตลาด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์
data) รวบรวมได้จากเอกสารของหน่วยงานราชการ (product) ราคา (price) การจัดจ�าหน่าย (place) และการ
ต่างๆ เอกสารทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ และงานศึกษา ส่งเสริมการขาย (promotion) โดยใช้การวิเคราะห์เชิง
วิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ไม้สัก พรรณนา (descriptive analysis)