Page 33 -
P. 33

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 33 (1) : 28-35 (2557)                     31
                                                         ์



                        3. การวิเคราะห์โครงสร้างตลาด ท�าการวิเคราะห์  ลูกบาศก์เมตรต่อปี คิดเป็นร้อยละ 85.38 รองลงมาคือ
                 เกี่ยวกับสัดส่วนความเข้มของผู้ขาย (seller concentration   300-600, 601-900 และมากกว่า 900 ลูกบาศก์เมตรต่อปี
                 ratio) หรือของผู้ประกอบการ โดยพิจารณาจากมูลค่าของ  คิดเป็นร้อยละ 9.09, 3.16 และ 2.37 ตามล�าดับ โดยมี
                 สินค้า โดยค�านวณได้จากร้อยละของส่วนแบ่งตลาดของ  ปริมาณไม้สักที่ใช้น้อยที่สุดคือ 6 ลูกบาศก์เมตรต่อปี
                 ธุรกิจ 4 กิจการแรกที่ใหญ่ที่สุดต่อส่วนแบ่งตลาดของ  ใช้มากที่สุดคือ 1,613 ลูกบาศก์เมตรต่อปี และเฉลี่ย 164

                 ธุรกิจทั้งหมด ถ้าค่าสัดส่วนความเข้มของผู้ขายเท่ากับ   ลูกบาศก์เมตรต่อปี รวมปริมาณการใช้ไม้สักทั้งหมด
                 100 ตลาดมีโครงสร้างแบบผูกขาด (monopoly) ถ้ามีค่า  41,570 ลูกบาศก์เมตรต่อปี แหล่งที่มาของไม้สักที่ใช้เป็น
                 เท่ากับหรือมากกว่า 10 ตลาดมีโครงสร้างแบบผู้ขายน้อย  วัตถุดิบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1) ไม้สักแปรรูป มี

                 ราย (oligopoly) และมีค่าน้อยกว่า 10 ตลาดมีโครงสร้าง  ปริมาณ 40,674 ลูกบาศก์เมตร โดยมาจากโรงงานแปรรูป
                 แบบแข่งขัน (competition) (Caves, 1982) ความแตกต่าง  ไม้ มาจากโรงงานของนายจ้าง มาจากสวนป่าของ อ.อ.ป.
                 ของผลิตภัณฑ์ พิจารณาเกี่ยวกับคุณภาพ และการบริการ  และมาจากสวนป่าปลูกเอกชน และ 2) เศษไม้ ปีกไม้สัก
                 ต่างๆ และอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด โดยพิจารณาจาก  มีปริมาณ 896 ลูกบาศก์เมตร โดยมาจากเศษเหลือจาก
                 เงินที่ใช้ในการลงทุน และความเชื่อถือของลูกค้า และ  การใช้ไม้สักแปรรูป เมื่อศึกษาปริมาณความต้องการใช้

                 ปัญหาทางด้านการตลาด จะท�าการวิเคราะห์โดยใช้  ไม้สักเป็นวัตถุดิบพบว่า ผู้ประกอบการ ร้อยละ 91.70
                 ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย           มีปริมาณไม้สักเพียงพอต่อความต้องการ และมีเพียง
                                                             ร้อยละ 8.30 ของผู้ประกอบการที่ปริมาณไม้สักมีไม่
                            ผลและวิจารณ์                     เพียงพอต่อความต้องการ โดยมีปริมาณความต้องการ

                                                             ใช้ไม้สักเพิ่มทั้งหมด จ�านวน 1,152 ลูกบาศก์เมตรต่อปี
                 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการผลิต                โดยผู้ประกอบการมีความต้องการไม้สักเพิ่มสูงสุด 96

                        ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการ          ลูกบาศก์เมตรต่อปี ต�่าสุด 24 ลูกบาศก์เมตรต่อปี และ
                        จากการศึกษาพบว่า ผู้ประกอบการประกอบ  เฉลี่ย 58 ลูกบาศก์เมตรต่อปี

                 ธุรกิจเอง คิดเป็นร้อยละ 58.89 และผู้ประกอบการโดย     แรงงาน
                 การรับจ้างผลิตผลิตภัณฑ์ไม้สัก คิดเป็นร้อยละ 41.11 โดย     การจ้างงานของผู้ประกอบการมีการจ้างงาน
                 ผู้ประกอบการมีอาชีพหลักท�าผลิตภัณฑ์ไม้สัก คิดเป็น  3 ลักษณะคือ 1) การจ้างเหมา 2) การใช้แรงงานตัวเอง
                 ร้อยละ 63.24 และเป็นอาชีพเสริม คิดเป็นร้อยละ 36.76   และ 3) การจ้างรายวัน อัตราการจ้างเหมาอยู่ที่ 18-2,000

                 ระยะเวลาเฉลี่ยในการด�าเนินกิจการผลิตผลิตภัณฑ์  บาทต่อชิ้นผลิตภัณฑ์ โดยอัตราค่าจ้างขึ้นอยู่กับขนาด
                 ไม้สักของผู้ประกอบการ คือ 11 ปี โดยด�าเนินกิจการ  ประเภทของผลิตภัณฑ์ และความยากง่ายในการผลิต
                 นานที่สุด 30 ปี และน้อยที่สุด 1 ปี โดยสถานภาพของ  ผลิตภัณฑ์ อัตราการจ้างรายวันอยู่ที่ 180-375 บาทต่อ

                 สถานประกอบการส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมครัวเรือน   วัน มีการใช้แรงงานเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 59.81 และ
                 คิดเป็นร้อยละ 75.10 และโรงงานอุตสาหกรรม ร้อยละ   เพศหญิง  คิดเป็นร้อยละ 40.19 โดยมีแรงงานสูงสุด 20
                 24.90                                       คน ต�่าสุด 1 คน และมีแรงงานเฉลี่ย 3 คน ภูมิล�าเนาของ
                                                             แรงงานส่วนใหญ่อยู่ในอ�าเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ คิด
                        วัตถุดิบ                             เป็นร้อยละ 90.01 ผู้ประกอบการทั้งหมดมีเครื่องจักร

                        ปริมาณไม้สักที่ใช้เป็นวัตถุดิบในโรงงานพบว่า   เป็นของตนเอง โดยเครื่องจักรสูงสุดมีก�าลัง 38 แรงม้า
                 ปริมาณการใช้ไม้สักส่วนใหญ่มีปริมาณน้อยกว่า 300   และต�่าสุด 1 แรงม้า
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38