Page 35 -
P. 35
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 28-35 (2557) 33
์
เดี่ยวในราคา 1,900 บาท ผู้ประกอบการจะเลือกไม้สัก เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยา จันทบุรี ระยอง ตราด
ที่มีคุณภาพไม่ดี เช่น ไม้มีต�าหนิ มีตาไม้เห็นเด่นชัด นครราชสีมา ขอนแก่น เพชรบุรี สุราษฎร์ธานี และ
แต่จะท�าการย้อมไม้ให้เป็นสีเหลืองทอง ท�าให้เนื้อไม้ ชุมพร จ�าหน่ายให้พ่อค้าคนกลางนอกจังหวัดแพร่ ร้อยละ
ดูสวยงามขึ้น และท�าการตกแต่งท�าสีทับอีกครั้งก่อน 10.57 ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ลพบุรี นครสวรรค์
การน�าไปจ�าหน่ายให้ลูกค้าผู้ประกอบการมีบริการหลัง อุตรดิตถ์ พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย ก�าแพงเพชร ตาก
การขาย คือ มีการรับประกันคุณภาพสินค้าทุกชิ้นงาน ล�าพูน ล�าปาง เชียงใหม่ เชียงราย น่าน ระยอง จันทบุรี
และบริการส่งสินค้าให้กับผู้ซื้อ ร้อยละ 38.26 ขอนแก่น ชัยภูมิ นครราชสีมา ตรัง ปัตตานี และสงขลา
2. ราคา ราคาของผลิตภัณฑ์ไม้สักพบว่า ผู้ และจ�าหน่ายให้กับผู้บริโภคโดยตรง ร้อยละ 0.16
ประกอบการเป็นผู้ก�าหนดราคาเอง โดยก�าหนดราคาขาย นอกจากนี้ยังมีบริการส่งสินค้าให้กับผู้ซื้อ โดยการ
จากการน�าต้นทุนการผลิตบวกก�าไรที่ต้องการ คิดเป็น บริการขนส่งสินค้าให้กับผู้ซื้อ ถ้าผู้ซื้อสั่งซื้อผลิตภัณฑ์
ร้อยละ 71.14 โดยราคาที่ก�าหนดนั้นขึ้นอยู่กับลวดลาย ในปริมาณมาก (คุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายในการขนส่งในแต่ละ
และความยากง่ายของการท�าผลิตภัณฑ์ รองลงมาคือ ครั้ง) เช่น ถ้าลูกค้าสั่งซื้อ หน้าต่าง จ�านวน 700 ชิ้นขึ้น
กลุ่มผู้ผลิตที่ผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันเป็นผู้ก�าหนด ไปจะบริการขนส่งให้ เป็นต้น
ร้านค้าที่รับซื้อเป็นผู้ก�าหนด และพ่อค้าคนกลางเป็น 4. การส่งเสริมการตลาด จากการศึกษาพบว่า
ผู้ก�าหนด คิดเป็นร้อยละ 26.85 7.70 และ 2.68 ตามล�าดับ ผู้ประกอบการทั้งหมดมีการส่งเสริมการตลาดทางด้าน
(ผู้ประกอบการตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ผลิตภัณฑ์ไม้สัก การตลาดทางตรง โดยการติดต่อโดยตรงกับลูกค้าทาง
ที่มีราคาต�่าที่สุดคือ หมอนไม้ ราคา 21 บาทต่อชิ้น และ โทรศัพท์ มีการส่งเสริมการขาย ร้อยละ 9.40 โดยมีบริการ
ผลิตภัณฑ์ไม้สักที่มีราคาสูงที่สุดคือตู้เสื้อผ้า ราคา 20,000 หีบห่อด้วยกระดาษอย่างดี เพื่อป้องกันผลิตภัณฑ์ช�ารุด
บาทต่อชิ้น โดยผลิตภัณฑ์บางชนิดจะมีหลายขนาด เสียหาย และการโฆษณาร้อยละ 1.34 โดยใช้ป้ายโฆษณา
ซึ่งราคาจะขึ้นอยู่กับขนาด ลวดลาย และความยากง่าย 3 ครั้งต่อปี ค่าใช้จ่าย 1,000 บาทต่อครั้ง และโฆษณา
ของผลิตภัณฑ์ ก�าหนดระยะเวลาการช�าระเงิน โดยผู้ ในอินเตอร์เน็ต 1 ครั้งต่อปี ค่าใช้จ่าย 700 บาทต่อครั้ง
ประกอบการจะให้เครดิตกับร้านค้าส่ง ช�าระเงินภายใน โครงสร้างตลาด
5-45 วัน และพ่อค้าคนกลาง ช�าระเงินภายใน 3-30 วัน การศึกษาโครงสร้างตลาด ประกอบด้วย สัดส่วน
หลังจากที่มีการรับผลิตภัณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 36.91 และ ความเข้มของผู้ขาย ความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ และ
การให้ส่วนลดเงินสด โดยมีผู้ประกอบการเพียง 2 ราย อุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด ผลการศึกษามีดังนี้
เท่านั้นที่ให้ส่วนลดเงินสดกับร้านค้าส่ง ร้อยละ 5 เมื่อ 1. สัดส่วนความเข้มของผู้ขาย จากการศึกษา
สั่งซื้อ โต๊ะอาหาร จ�านวน 10 ชิ้นขึ้นไป และร้อยละ 3 พบว่า ค่าสัดส่วนความเข้มของผู้ประกอบการ ใน
เมื่อสั่งซื้อ หน้าต่าง จ�านวน 700 ชิ้นขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ต�าบลน�้าช�า อ�าเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เท่ากับร้อยละ
1.35 ของผู้ประกอบการ 22.03 แสดงว่าโครงสร้างตลาดเป็นแบบ ผู้ขายน้อยราย
3. การจัดจ�าหน่าย จากการศึกษาพบว่า ผู้ สอดคล้องกับข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่า มีผู้ประกอบการ
ประกอบการจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ไม้สักให้กับพ่อค้า รายใหญ่ๆ เพียง 2 ราย ที่มีมูลค่าการจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์
คนกลางในจังหวัดแพร่ ร้อยละ 49.75 จ�าหน่ายให้ ไม้สัก เท่ากับ 5,760,000-5,820,000 บาทต่อเดือน ซึ่ง
กับร้านค้าส่งในจังหวัดแพร่ ร้อยละ 24.10 จ�าหน่าย สัดส่วนค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับผู้ประกอบการรายอื่น
ให้กับร้านค้าส่งนอกจังหวัดแพร่ ร้อยละ 15.41 ได้แก่ ซึ่งเป็นผู้ประกอบการรายเล็ก
กรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา นครสวรรค์ 2. ความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ จากการศึกษา
พิจิตร พิษณุโลก ก�าแพงเพชร สุโขทัย อุตรดิตถ์ ล�าปาง พบว่า ผู้ประกอบการรายใหญ่ที่มีก�าลังการผลิตมาก