Page 40 -
P. 40
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
38 Thai J. For. 33 (1) : 36-46 (2014)
และกาแฟ ตามล�าดับ (Foppes and Ketphanh, 2000b) ป่าไม้ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่าง
หรือร้อยละ 20 - 30 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ แบบกลุ่มปรับ และวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย 2) เพื่อ
การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มปรับ (adaptive cluster เปรียบเทียบการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มปรับ และการ
sampling) ถูกน�าเสนอโดย Thompson (1990) และถูก สุ่มตัวอย่างแบบง่าย ในการประเมินของป่า 3 ชนิด
พัฒนามาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (cluster sampling) ได้แก่ หวาย ต๋าว และแฮ่มในพื้นที่ป่าสาธิต และ
เป็นวิธีการสุ่มตัวอย่างที่มีประสิทธิภาพในการประมาณค่า ต้นแบบของคณะป่าไม้ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว
ประชากร และค่าเฉลี่ยของประชากร เป็นแบบแผนการ
สุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมกับการส�ารวจสิ่งที่หายากมักจะ อุปกรณ์และวิธีการ
อยู่บริเวณที่เกาะกลุ่มกันหรือใกล้เคียงกัน เช่น การ
ประมาณจ�านวนสัตว์ พืชตระกูลต่างๆ และได้มีการ พื้นที่ศึกษา
ใช้กันมากในงานวิจัยในด้านสังคม และงานวิจัยทาง พื้นที่ป่าสาธิตและต้นแบบของคณะป่าไม้
ด้านธรรมชาติ (Vorgelegt, 2006; Gelens et al., 2008; (training and model forest) มีเนื้อที่ทั้งหมด 1,303
Noon et al., 2006; Talvitie et al., 2006) การศึกษาเกี่ยว เฮกแตร์ (8,143.75 ไร่) พื้นที่ดังกล่าวอยู่ใน เส้นลองจิจูด
กับของป่าได้มีมานาน แต่การศึกษาส่วนใหญ่จะศึกษา (longitude) 102º 9´ 40.30´´ (E) ตะวันออก และ เส้น
การใช้ประโยชน์ของป่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ละติจูด (latitude) 18º 20´ 24.70´´ (N) เหนือ ป่าอนุรักษ์
ทางเศรษฐกิจ และการพึ่งพิงของป่าเป็นต้น ภูผาเดือน เป็นพื้นที่ป่าอนุรักษ์ของคณะป่าไม้ ซึ่งมีเนื้อที่
งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ทั้งหมด 394 เฮกแตร์ (2,462.25 ไร่) ครอบคลุมประมาณ
1) ประเมินผลผลิตของของป่า 3 ชนิด ได้แก่ หวาย ต๋าว ร้อยละ 30.2 ของพื้นที่ป่าสาธิตและต้นแบบของคณะ
และแฮ่ม ในพื้นที่ป่าสาธิต และต้นแบบของคณะ ป่าไม้ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว (Figure 1)
Figure 1 Map show boundary area and study area
Figure 1 Map show boundary area and study area